Skip to content
Home » [NEW] มัธยม VS มหาวิทยาลัย ต่างกันอย่างไร | วัน ครู มหาวิทยาลัย หยุด ไหม – NATAVIGUIDES

[NEW] มัธยม VS มหาวิทยาลัย ต่างกันอย่างไร | วัน ครู มหาวิทยาลัย หยุด ไหม – NATAVIGUIDES

วัน ครู มหาวิทยาลัย หยุด ไหม: นี่คือโพสต์ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อนี้

Table of Contents

มัธยม VS มหาวิทยาลัย ต่างกันอย่างไร

คงอีกไม่กี่เดือน หลาย ๆ มหาวิทยาลัยก็จะเริ่มทะยอยเปิดภาคการศึกษาอย่างเป็นทางการ น้องที่กำลังจะเข้าเรียนในรั้วมหาวิทยาลัยคงต้องอาศัยการปรับตัวอยู่อีกพักหนึ่ง แต่จะดีกว่าไหม?  ถ้าเรารู้ว่ามหาวิทยาลัยกับมัธยมนั้นมีความแตกต่างกันอย่างไรก็คงจะ  เพราะเราจะได้เตรียมตัว เตรียมความพร้อมรับมือได้อย่างง่ายดาย วันนี้พี่ Admission Premium จึงได้รวบรวมข้อมูลความแตกต่างของ มัธยม VS มหาวิทยาลัย มาฝากน้อง ๆ จะมีอะไรแตกต่างกันบ้างเอาเป็นว่าเราไปดูกันเลย !!!
 

1. ตารางและเวลาเข้าเรียน

มัธยมเราเคยเรียนเป็นชั่วโมง หรือประมาณวันละ 6- 8 วิชา แต่การเรียนในมหาวิทยาลัยในหนึ่งวันเรียนประมาณ 3 – 4 วิชา วิชาประมาณ 2- 3 ชั่วโมง นอกจากนี้ยังแบ่งเรียนแต่ละวันไม่เหมือนกัน บางวันเรียนแค่ช่วงเช้า หรือบางวันเรียนแค่ช่วงบ่าย หรืออาจจะมีเรียนเสาร์ – อาทิตย์ ในส่วนของตารางเรียนน้อง ๆ เคยต้องเรียนตามตารางที่โรงเรียนจัดวางไว้ให้ แต่ในมหาวิทยาลัยสามารถเลือกเรียนวิชาต่าง ๆ ได้ด้วยตนเอง  แต่ต้องตามหลังสูตรเก็บหน่วยกิตให้ครบตามหลักสูตร

2. ข้อสอบปรนัยและอัตนัย

ตอนเรียนมัธยมเจอข้อสอบแบบปรนัย (กากบาท) เป็นส่วนใหญ่  แต่พอเข้าเรียนมหาวิทยาลัยแล้วข้อสอบส่วนใหญ่เป็นเป็นอัตนัย (ข้อเขียน ) เขียนอธิบายความเข้าใจ  ในเนื้อหาที่เรียนรู้ให้ได้  ถือเป็นทักษะที่จำเป็นอย่างมากในระดับมหาวิทยาลัย  ที่สำคัญการเขียนควรเขียนตัวหนังสือให้อ่านออก ไม่ใช่เราอ่านได้คนเดียว

3. ไม่มีเกรด 0 – 4 มีแต่ A – F

การตัดเกรดในมหาวิทยาลัยก็จะมีความแตกต่างออกไปจากที่น้อง ๆ คุ้นเคยจากเกรด 0- 4 มาเป็น A – F เกรดในมหาวิทยาลัยแต่ละรายวิชา จะออกมาเป็นตัวอักษร ดังนี้
A  =  4.00,  B+ = 3.5,  B = 3.00,  C+ = 2.5,  C = 2.00,  D+ = 1.5,  D =  1.00,  F = สอบตก/ขาดสอบ หรือคะแนนไม่ถึงเกณฑ์  ในกรณีติด F นั้นน้อง ๆ สามารถลงเรียนใหม่ได้อีกเพื่อแก้ไขเกรดคล้ายกับการแก้ 0 ร. หรือ มส. ในช่วงมัธยม

4. การสอนและอุปกรณ์การเรียน

น้อง ๆ อาจจะเคยชินกับการสอนบนกระดานหรือเนื้อหาในหนังสือ  มีคุณครูที่สอนเนื้อหาต่าง ๆ ตามในหนังสืออาศัยการเรียนรู้จากตำราเรียนของกระทรวงศึกษา มีหนังสือสมุดหลาย ๆ เล่มแยกเป็นรายวิชา  แต่ในมหาวิทยาลัยนั้นเปรียบเสมอแหล่งเรียนรู้ที่น้อง ๆ ต้องเรียนรู้และเก็บเกี่ยวความรู้ด้วยตนเอง  อาศัยการเรียนรู้จากทฤษฏี  เพื่อนนำมาเรียนรู้ปรากฏการทางสังคม และจะไม่มีอาจารย์มานั่งสอนหรือคอยตามงาน โดยส่วนมากจะไม่ค่อยมีหนังสือมากนักแต่จะมีสมุดเพื่อจดบันทึกความรู้เท่านั้น หรือจะพูดง่าย ๆ แค่ปากกาหนึ่งด้ามกับสมุดหนึ่งเล่ม ก็โอละนะ

5. ไลฟ์สไตล์การใช้ชีวิต

พอพูดเข้าจริง ๆ มัธยมถือว่าเป็นช่วงชีวิตที่มีความสุขมาก ๆ เริ่มจากการตื่นนอนที่มีคนปลุก การกินที่มีคนเตรียมกับข้าวไว้ให้ อาจจะน่ารำคาญตอนเขาแถวหน้าเสาร์ธงหรือจะมองซ้ายก็เห็นรั้วโรงเรียน มองขวาก็เห็นครูปกครอง เวลาเรียนเสร็จมีเสียงกริ่งบอกเวลาเลิกเรียน แต่เมื่อน้องได้เข้าเรียนมหาวิทยาลัยแล้ว สิ่งที่ต้องมีให้มากที่สุด คือ ความรับผิดชอบต่อตนเอง เพราะจะไม่มีใครปลุก ไม่มีคนเตรียมกับข้าวให้ เวลาเรียนไม่มีเสียงกริ่งบอกเวลา หรือแม้แต่การส่งงานก็จะไม่มีคนมาคอยตาม ฉนั้นอย่างที่พี่บอกไป ชีวิตในมหาวิทยาลัยต้องมี ” ความรับผิดชอบ “

เป็นยังไงกันบ้างน้อง ๆ กับความแตกต่างระหว่างมัธยม  และมหาวิทยาลัย  5 สิ่งที่พี่นำมาฝากนี้เป็นเพียงแค่ส่วนที่แตกต่างอย่างเห็นได้ชัดเจนเท่านั้น  แท้จริงแล้วชีวิตในช่วงวัยมหาวิทยาลัยยังมีความแต่ต่างอีกมากมาย  หากจะเปรียบเทียบให้เห็นได้ชัดนั้น คือ การทดลองใช้ชีวิตเพื่อที่จะก้าวเข้าสู่วัยทำงาน ดังนั้นเราควรเรียนรู้และประคับประคองชีวิตให้ดีเท่าที่เราจะทำได้ แล้วน้อง ๆ จะรู้ว่ามหาวิทยาลัยมีอะไรให้เรียนรู้อีกเยอะ

อ้างอิง >>> www.scholarship.in.th

คงอีกไม่กี่เดือน หลาย ๆ มหาวิทยาลัยก็จะเริ่มทะยอยเปิดภาคการศึกษาอย่างเป็นทางการ น้องที่กำลังจะเข้าเรียนในรั้วมหาวิทยาลัยคงต้องอาศัยการปรับตัวอยู่อีกพักหนึ่ง แต่จะดีกว่าไหม? ถ้าเรารู้ว่ามหาวิทยาลัยกับมัธยมนั้นมีความแตกต่างกันอย่างไรก็คงจะ เพราะเราจะได้เตรียมตัว เตรียมความพร้อมรับมือได้อย่างง่ายดาย วันนี้พี่ Admission Premium จึงได้รวบรวมข้อมูลความแตกต่างของ มัธยม VS มหาวิทยาลัย มาฝากน้อง ๆ จะมีอะไรแตกต่างกันบ้างเอาเป็นว่าเราไปดูกันเลย !!!มัธยมเราเคยเรียนเป็นชั่วโมง หรือประมาณวันละ 6- 8 วิชา แต่การเรียนในมหาวิทยาลัยในหนึ่งวันเรียนประมาณ 3 – 4 วิชา วิชาประมาณ 2- 3 ชั่วโมง นอกจากนี้ยังแบ่งเรียนแต่ละวันไม่เหมือนกัน บางวันเรียนแค่ช่วงเช้า หรือบางวันเรียนแค่ช่วงบ่าย หรืออาจจะมีเรียนเสาร์ – อาทิตย์ ในส่วนของตารางเรียนน้อง ๆ เคยต้องเรียนตามตารางที่โรงเรียนจัดวางไว้ให้ แต่ในมหาวิทยาลัยสามารถเลือกเรียนวิชาต่าง ๆ ได้ด้วยตนเอง แต่ต้องตามหลังสูตรเก็บหน่วยกิตให้ครบตามหลักสูตรตอนเรียนมัธยมเจอข้อสอบแบบปรนัย (กากบาท) เป็นส่วนใหญ่ แต่พอเข้าเรียนมหาวิทยาลัยแล้วข้อสอบส่วนใหญ่เป็นเป็นอัตนัย (ข้อเขียน ) เขียนอธิบายความเข้าใจ ในเนื้อหาที่เรียนรู้ให้ได้ ถือเป็นทักษะที่จำเป็นอย่างมากในระดับมหาวิทยาลัย ที่สำคัญการเขียนควรเขียนตัวหนังสือให้อ่านออก ไม่ใช่เราอ่านได้คนเดียวการตัดเกรดในมหาวิทยาลัยก็จะมีความแตกต่างออกไปจากที่น้อง ๆ คุ้นเคยจากเกรด 0- 4 มาเป็น A – F เกรดในมหาวิทยาลัยแต่ละรายวิชา จะออกมาเป็นตัวอักษร ดังนี้A = 4.00, B+ = 3.5, B = 3.00, C+ = 2.5, C = 2.00, D+ = 1.5, D = 1.00, F = สอบตก/ขาดสอบ หรือคะแนนไม่ถึงเกณฑ์ ในกรณีติด F นั้นน้อง ๆ สามารถลงเรียนใหม่ได้อีกเพื่อแก้ไขเกรดคล้ายกับการแก้ 0 ร. หรือ มส. ในช่วงมัธยมน้อง ๆ อาจจะเคยชินกับการสอนบนกระดานหรือเนื้อหาในหนังสือ มีคุณครูที่สอนเนื้อหาต่าง ๆ ตามในหนังสืออาศัยการเรียนรู้จากตำราเรียนของกระทรวงศึกษา มีหนังสือสมุดหลาย ๆ เล่มแยกเป็นรายวิชา แต่ในมหาวิทยาลัยนั้นเปรียบเสมอแหล่งเรียนรู้ที่น้อง ๆ ต้องเรียนรู้และเก็บเกี่ยวความรู้ด้วยตนเอง อาศัยการเรียนรู้จากทฤษฏี เพื่อนนำมาเรียนรู้ปรากฏการทางสังคม และจะไม่มีอาจารย์มานั่งสอนหรือคอยตามงาน โดยส่วนมากจะไม่ค่อยมีหนังสือมากนักแต่จะมีสมุดเพื่อจดบันทึกความรู้เท่านั้น หรือจะพูดง่าย ๆ แค่ปากกาหนึ่งด้ามกับสมุดหนึ่งเล่ม ก็โอละนะพอพูดเข้าจริง ๆ มัธยมถือว่าเป็นช่วงชีวิตที่มีความสุขมาก ๆ เริ่มจากการตื่นนอนที่มีคนปลุก การกินที่มีคนเตรียมกับข้าวไว้ให้ อาจจะน่ารำคาญตอนเขาแถวหน้าเสาร์ธงหรือจะมองซ้ายก็เห็นรั้วโรงเรียน มองขวาก็เห็นครูปกครอง เวลาเรียนเสร็จมีเสียงกริ่งบอกเวลาเลิกเรียน แต่เมื่อน้องได้เข้าเรียนมหาวิทยาลัยแล้ว สิ่งที่ต้องมีให้มากที่สุด คือ ความรับผิดชอบต่อตนเอง เพราะจะไม่มีใครปลุก ไม่มีคนเตรียมกับข้าวให้ เวลาเรียนไม่มีเสียงกริ่งบอกเวลา หรือแม้แต่การส่งงานก็จะไม่มีคนมาคอยตาม ฉนั้นอย่างที่พี่บอกไป ชีวิตในมหาวิทยาลัยต้องมี ” ความรับผิดชอบ “เป็นยังไงกันบ้างน้อง ๆ กับความแตกต่างระหว่างมัธยม และมหาวิทยาลัย 5 สิ่งที่พี่นำมาฝากนี้เป็นเพียงแค่ส่วนที่แตกต่างอย่างเห็นได้ชัดเจนเท่านั้น แท้จริงแล้วชีวิตในช่วงวัยมหาวิทยาลัยยังมีความแต่ต่างอีกมากมาย หากจะเปรียบเทียบให้เห็นได้ชัดนั้น คือ การทดลองใช้ชีวิตเพื่อที่จะก้าวเข้าสู่วัยทำงาน ดังนั้นเราควรเรียนรู้และประคับประคองชีวิตให้ดีเท่าที่เราจะทำได้ แล้วน้อง ๆ จะรู้ว่ามหาวิทยาลัยมีอะไรให้เรียนรู้อีกเยอะ

[NEW] มัธยม VS มหาวิทยาลัย ต่างกันอย่างไร | วัน ครู มหาวิทยาลัย หยุด ไหม – NATAVIGUIDES

มัธยม VS มหาวิทยาลัย ต่างกันอย่างไร

คงอีกไม่กี่เดือน หลาย ๆ มหาวิทยาลัยก็จะเริ่มทะยอยเปิดภาคการศึกษาอย่างเป็นทางการ น้องที่กำลังจะเข้าเรียนในรั้วมหาวิทยาลัยคงต้องอาศัยการปรับตัวอยู่อีกพักหนึ่ง แต่จะดีกว่าไหม?  ถ้าเรารู้ว่ามหาวิทยาลัยกับมัธยมนั้นมีความแตกต่างกันอย่างไรก็คงจะ  เพราะเราจะได้เตรียมตัว เตรียมความพร้อมรับมือได้อย่างง่ายดาย วันนี้พี่ Admission Premium จึงได้รวบรวมข้อมูลความแตกต่างของ มัธยม VS มหาวิทยาลัย มาฝากน้อง ๆ จะมีอะไรแตกต่างกันบ้างเอาเป็นว่าเราไปดูกันเลย !!!
 

1. ตารางและเวลาเข้าเรียน

มัธยมเราเคยเรียนเป็นชั่วโมง หรือประมาณวันละ 6- 8 วิชา แต่การเรียนในมหาวิทยาลัยในหนึ่งวันเรียนประมาณ 3 – 4 วิชา วิชาประมาณ 2- 3 ชั่วโมง นอกจากนี้ยังแบ่งเรียนแต่ละวันไม่เหมือนกัน บางวันเรียนแค่ช่วงเช้า หรือบางวันเรียนแค่ช่วงบ่าย หรืออาจจะมีเรียนเสาร์ – อาทิตย์ ในส่วนของตารางเรียนน้อง ๆ เคยต้องเรียนตามตารางที่โรงเรียนจัดวางไว้ให้ แต่ในมหาวิทยาลัยสามารถเลือกเรียนวิชาต่าง ๆ ได้ด้วยตนเอง  แต่ต้องตามหลังสูตรเก็บหน่วยกิตให้ครบตามหลักสูตร

2. ข้อสอบปรนัยและอัตนัย

ตอนเรียนมัธยมเจอข้อสอบแบบปรนัย (กากบาท) เป็นส่วนใหญ่  แต่พอเข้าเรียนมหาวิทยาลัยแล้วข้อสอบส่วนใหญ่เป็นเป็นอัตนัย (ข้อเขียน ) เขียนอธิบายความเข้าใจ  ในเนื้อหาที่เรียนรู้ให้ได้  ถือเป็นทักษะที่จำเป็นอย่างมากในระดับมหาวิทยาลัย  ที่สำคัญการเขียนควรเขียนตัวหนังสือให้อ่านออก ไม่ใช่เราอ่านได้คนเดียว

3. ไม่มีเกรด 0 – 4 มีแต่ A – F

การตัดเกรดในมหาวิทยาลัยก็จะมีความแตกต่างออกไปจากที่น้อง ๆ คุ้นเคยจากเกรด 0- 4 มาเป็น A – F เกรดในมหาวิทยาลัยแต่ละรายวิชา จะออกมาเป็นตัวอักษร ดังนี้
A  =  4.00,  B+ = 3.5,  B = 3.00,  C+ = 2.5,  C = 2.00,  D+ = 1.5,  D =  1.00,  F = สอบตก/ขาดสอบ หรือคะแนนไม่ถึงเกณฑ์  ในกรณีติด F นั้นน้อง ๆ สามารถลงเรียนใหม่ได้อีกเพื่อแก้ไขเกรดคล้ายกับการแก้ 0 ร. หรือ มส. ในช่วงมัธยม

4. การสอนและอุปกรณ์การเรียน

น้อง ๆ อาจจะเคยชินกับการสอนบนกระดานหรือเนื้อหาในหนังสือ  มีคุณครูที่สอนเนื้อหาต่าง ๆ ตามในหนังสืออาศัยการเรียนรู้จากตำราเรียนของกระทรวงศึกษา มีหนังสือสมุดหลาย ๆ เล่มแยกเป็นรายวิชา  แต่ในมหาวิทยาลัยนั้นเปรียบเสมอแหล่งเรียนรู้ที่น้อง ๆ ต้องเรียนรู้และเก็บเกี่ยวความรู้ด้วยตนเอง  อาศัยการเรียนรู้จากทฤษฏี  เพื่อนนำมาเรียนรู้ปรากฏการทางสังคม และจะไม่มีอาจารย์มานั่งสอนหรือคอยตามงาน โดยส่วนมากจะไม่ค่อยมีหนังสือมากนักแต่จะมีสมุดเพื่อจดบันทึกความรู้เท่านั้น หรือจะพูดง่าย ๆ แค่ปากกาหนึ่งด้ามกับสมุดหนึ่งเล่ม ก็โอละนะ

5. ไลฟ์สไตล์การใช้ชีวิต

พอพูดเข้าจริง ๆ มัธยมถือว่าเป็นช่วงชีวิตที่มีความสุขมาก ๆ เริ่มจากการตื่นนอนที่มีคนปลุก การกินที่มีคนเตรียมกับข้าวไว้ให้ อาจจะน่ารำคาญตอนเขาแถวหน้าเสาร์ธงหรือจะมองซ้ายก็เห็นรั้วโรงเรียน มองขวาก็เห็นครูปกครอง เวลาเรียนเสร็จมีเสียงกริ่งบอกเวลาเลิกเรียน แต่เมื่อน้องได้เข้าเรียนมหาวิทยาลัยแล้ว สิ่งที่ต้องมีให้มากที่สุด คือ ความรับผิดชอบต่อตนเอง เพราะจะไม่มีใครปลุก ไม่มีคนเตรียมกับข้าวให้ เวลาเรียนไม่มีเสียงกริ่งบอกเวลา หรือแม้แต่การส่งงานก็จะไม่มีคนมาคอยตาม ฉนั้นอย่างที่พี่บอกไป ชีวิตในมหาวิทยาลัยต้องมี ” ความรับผิดชอบ “

เป็นยังไงกันบ้างน้อง ๆ กับความแตกต่างระหว่างมัธยม  และมหาวิทยาลัย  5 สิ่งที่พี่นำมาฝากนี้เป็นเพียงแค่ส่วนที่แตกต่างอย่างเห็นได้ชัดเจนเท่านั้น  แท้จริงแล้วชีวิตในช่วงวัยมหาวิทยาลัยยังมีความแต่ต่างอีกมากมาย  หากจะเปรียบเทียบให้เห็นได้ชัดนั้น คือ การทดลองใช้ชีวิตเพื่อที่จะก้าวเข้าสู่วัยทำงาน ดังนั้นเราควรเรียนรู้และประคับประคองชีวิตให้ดีเท่าที่เราจะทำได้ แล้วน้อง ๆ จะรู้ว่ามหาวิทยาลัยมีอะไรให้เรียนรู้อีกเยอะ

อ้างอิง >>> www.scholarship.in.th

คงอีกไม่กี่เดือน หลาย ๆ มหาวิทยาลัยก็จะเริ่มทะยอยเปิดภาคการศึกษาอย่างเป็นทางการ น้องที่กำลังจะเข้าเรียนในรั้วมหาวิทยาลัยคงต้องอาศัยการปรับตัวอยู่อีกพักหนึ่ง แต่จะดีกว่าไหม? ถ้าเรารู้ว่ามหาวิทยาลัยกับมัธยมนั้นมีความแตกต่างกันอย่างไรก็คงจะ เพราะเราจะได้เตรียมตัว เตรียมความพร้อมรับมือได้อย่างง่ายดาย วันนี้พี่ Admission Premium จึงได้รวบรวมข้อมูลความแตกต่างของ มัธยม VS มหาวิทยาลัย มาฝากน้อง ๆ จะมีอะไรแตกต่างกันบ้างเอาเป็นว่าเราไปดูกันเลย !!!มัธยมเราเคยเรียนเป็นชั่วโมง หรือประมาณวันละ 6- 8 วิชา แต่การเรียนในมหาวิทยาลัยในหนึ่งวันเรียนประมาณ 3 – 4 วิชา วิชาประมาณ 2- 3 ชั่วโมง นอกจากนี้ยังแบ่งเรียนแต่ละวันไม่เหมือนกัน บางวันเรียนแค่ช่วงเช้า หรือบางวันเรียนแค่ช่วงบ่าย หรืออาจจะมีเรียนเสาร์ – อาทิตย์ ในส่วนของตารางเรียนน้อง ๆ เคยต้องเรียนตามตารางที่โรงเรียนจัดวางไว้ให้ แต่ในมหาวิทยาลัยสามารถเลือกเรียนวิชาต่าง ๆ ได้ด้วยตนเอง แต่ต้องตามหลังสูตรเก็บหน่วยกิตให้ครบตามหลักสูตรตอนเรียนมัธยมเจอข้อสอบแบบปรนัย (กากบาท) เป็นส่วนใหญ่ แต่พอเข้าเรียนมหาวิทยาลัยแล้วข้อสอบส่วนใหญ่เป็นเป็นอัตนัย (ข้อเขียน ) เขียนอธิบายความเข้าใจ ในเนื้อหาที่เรียนรู้ให้ได้ ถือเป็นทักษะที่จำเป็นอย่างมากในระดับมหาวิทยาลัย ที่สำคัญการเขียนควรเขียนตัวหนังสือให้อ่านออก ไม่ใช่เราอ่านได้คนเดียวการตัดเกรดในมหาวิทยาลัยก็จะมีความแตกต่างออกไปจากที่น้อง ๆ คุ้นเคยจากเกรด 0- 4 มาเป็น A – F เกรดในมหาวิทยาลัยแต่ละรายวิชา จะออกมาเป็นตัวอักษร ดังนี้A = 4.00, B+ = 3.5, B = 3.00, C+ = 2.5, C = 2.00, D+ = 1.5, D = 1.00, F = สอบตก/ขาดสอบ หรือคะแนนไม่ถึงเกณฑ์ ในกรณีติด F นั้นน้อง ๆ สามารถลงเรียนใหม่ได้อีกเพื่อแก้ไขเกรดคล้ายกับการแก้ 0 ร. หรือ มส. ในช่วงมัธยมน้อง ๆ อาจจะเคยชินกับการสอนบนกระดานหรือเนื้อหาในหนังสือ มีคุณครูที่สอนเนื้อหาต่าง ๆ ตามในหนังสืออาศัยการเรียนรู้จากตำราเรียนของกระทรวงศึกษา มีหนังสือสมุดหลาย ๆ เล่มแยกเป็นรายวิชา แต่ในมหาวิทยาลัยนั้นเปรียบเสมอแหล่งเรียนรู้ที่น้อง ๆ ต้องเรียนรู้และเก็บเกี่ยวความรู้ด้วยตนเอง อาศัยการเรียนรู้จากทฤษฏี เพื่อนนำมาเรียนรู้ปรากฏการทางสังคม และจะไม่มีอาจารย์มานั่งสอนหรือคอยตามงาน โดยส่วนมากจะไม่ค่อยมีหนังสือมากนักแต่จะมีสมุดเพื่อจดบันทึกความรู้เท่านั้น หรือจะพูดง่าย ๆ แค่ปากกาหนึ่งด้ามกับสมุดหนึ่งเล่ม ก็โอละนะพอพูดเข้าจริง ๆ มัธยมถือว่าเป็นช่วงชีวิตที่มีความสุขมาก ๆ เริ่มจากการตื่นนอนที่มีคนปลุก การกินที่มีคนเตรียมกับข้าวไว้ให้ อาจจะน่ารำคาญตอนเขาแถวหน้าเสาร์ธงหรือจะมองซ้ายก็เห็นรั้วโรงเรียน มองขวาก็เห็นครูปกครอง เวลาเรียนเสร็จมีเสียงกริ่งบอกเวลาเลิกเรียน แต่เมื่อน้องได้เข้าเรียนมหาวิทยาลัยแล้ว สิ่งที่ต้องมีให้มากที่สุด คือ ความรับผิดชอบต่อตนเอง เพราะจะไม่มีใครปลุก ไม่มีคนเตรียมกับข้าวให้ เวลาเรียนไม่มีเสียงกริ่งบอกเวลา หรือแม้แต่การส่งงานก็จะไม่มีคนมาคอยตาม ฉนั้นอย่างที่พี่บอกไป ชีวิตในมหาวิทยาลัยต้องมี ” ความรับผิดชอบ “เป็นยังไงกันบ้างน้อง ๆ กับความแตกต่างระหว่างมัธยม และมหาวิทยาลัย 5 สิ่งที่พี่นำมาฝากนี้เป็นเพียงแค่ส่วนที่แตกต่างอย่างเห็นได้ชัดเจนเท่านั้น แท้จริงแล้วชีวิตในช่วงวัยมหาวิทยาลัยยังมีความแต่ต่างอีกมากมาย หากจะเปรียบเทียบให้เห็นได้ชัดนั้น คือ การทดลองใช้ชีวิตเพื่อที่จะก้าวเข้าสู่วัยทำงาน ดังนั้นเราควรเรียนรู้และประคับประคองชีวิตให้ดีเท่าที่เราจะทำได้ แล้วน้อง ๆ จะรู้ว่ามหาวิทยาลัยมีอะไรให้เรียนรู้อีกเยอะ


ศาลรับฟ้อง ณวัฒน์และก๊วน คดีหมิ่น แอดมินเจน เพจเชียร์ลุง แจกเงินรับเสด็จฯ | เล่าข่าวข้น | TOP NEWS


ทักษิณเพื่อไทยเปิดประเทศTOPNEWS
ติดตามข่าวคลิปเด่นได้ที่ : https://bit.ly/TOPKhaodenxSubYT
.
ดาวน์โหลด APP : TOP NEWS : http://onelink.to/c68pbd
.
โฆษณาติดต่อ (คุณติ๊ก)
[email protected]
0816490178
.
ติดตามข่าวสารจากทางเราได้ จากทุกๆ ช่องทาง
กล่อง PSI, INFOSAT, GMMZ, IPM , CSAT, TIK , 3BB, TOT ช่องหมายเลข 77 , AIS ช่องหมายเลข 658
.
Website : https://www.topnews.co.th
FB : https://bit.ly/FBTOPTV
IG : https://bit.ly/IGTOPTV
Twitter : https://bit.ly/TWTOPTV
Line : https://bit.ly/LINExTOPTV

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

ศาลรับฟ้อง ณวัฒน์และก๊วน คดีหมิ่น แอดมินเจน เพจเชียร์ลุง แจกเงินรับเสด็จฯ | เล่าข่าวข้น | TOP NEWS

120 อาจารย์ เคยหนุนม็อบ 3 นิ้ว ล้มล้างการปกครอง ต้องโดนด้วยหรือไม่?!!? | ข่าวเด่น | TOP NEWS


ทักษิณเพื่อไทยเปิดประเทศTOPNEWS
ติดตามข่าวคลิปเด่นได้ที่ : https://bit.ly/TOPKhaodenxSubYT
.
ดาวน์โหลด APP : TOP NEWS : http://onelink.to/c68pbd
.
โฆษณาติดต่อ (คุณติ๊ก)
[email protected]
0816490178
.
ติดตามข่าวสารจากทางเราได้ จากทุกๆ ช่องทาง
กล่อง PSI, INFOSAT, GMMZ, IPM , CSAT, TIK , 3BB, TOT ช่องหมายเลข 77 , AIS ช่องหมายเลข 658
.
Website : https://www.topnews.co.th
FB : https://bit.ly/FBTOPTV
IG : https://bit.ly/IGTOPTV
Twitter : https://bit.ly/TWTOPTV
Line : https://bit.ly/LINExTOPTV

120 อาจารย์ เคยหนุนม็อบ 3 นิ้ว ล้มล้างการปกครอง ต้องโดนด้วยหรือไม่?!!? | ข่าวเด่น | TOP NEWS

มจพ.สวนกระแสไม่ไหวสั่งหยุดเรียนสองวัน | ข่าวช่องวัน | one31


สถานการณ์ฝุ่นละอองขนาดPM 2.5 ที่ยังคงวิกฤตในวันนี้ แม้ว่า ผู้ว่าฯ กทม.จะสั่งปิดโรงเรียน 437 แห่งในสังกัด ในหลายมหาวิทยาลัยก็ปิดเช่นเดียวกัน รวมถึง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ที่เคยประกาศว่าจะไม่ปิดเรียนแต่สุดท้ายก็เป็นห่วงสุขภาพของนักศึกษา ไปติดตามบรรยากาศในพื้นที่จากการรายงานสดของคุณอนุศักดิ์ ภูมิเทศ ผู้สื่อข่าวของเรากันครับ

ดูฟรี คมชัด ทั่วประเทศ
ชม Online ได้ทาง : http://www.one31.net/live
ดูย้อนหลังที่แรกทาง : http://www.one31.net
ติดตามข่าวสารจากช่อง one
ดาวน์โหลดแอปพลิเคชั่น “one31” ที่ : http://www.bit.ly/one31app
Facebook : https://www.facebook.com/one31Thailand
Instagram : https://www.instagram.com/one31thailand
Twitter : https://twitter.com/onehdthailand
http://www.one31.net/live

มจพ.สวนกระแสไม่ไหวสั่งหยุดเรียนสองวัน | ข่าวช่องวัน | one31

ไม่สบายบอกครู | ครูนกเล็ก


ครูนกเล็ก
รักษาสุขภาพให้ดี ไม่สบายบอกครู เดี่ยวครูพาไปหาหมอ

ไม่สบายบอกครู | ครูนกเล็ก

เปิดใจ ‘ครูพรพิมล’ ขอโทษต้นสังกัด โพสต์นั่งควบ 5 ตำแหน่ง ต้นสังกัดเร่งหาครูช่วย


สระแก้ว – เปิดใจครูพรพิมล ข้าราชการครูคนเดียวในโรงเรียนระดับประถมศึกษา อ.วังน้ำเย็น จ.สระแก้ว ที่ต้องรักษาราชการ 5 ตำแหน่งในโรงเรียน กลายเป็นกระแสดังในโลกโซเชียลมีเดีย คนแห่ให้กำลังใจ ด้าน สปพ.เขต1 และหน่วยงานต้นสังกัดเตรียมจัดสรรกำลังคนอีก 4 อัตรา ช่วยแบ่งเบาภาระแล้ว
ผู้ใช้เฟซบุ๊กรายหนึ่งออกมาแชร์เอกสารราชการ ซึ่งเป็นคำสั่งของโรงเรียนแห่งหนึ่ง แต่งตั้งบุคลากรให้ดำรงตำแหน่งต่างๆ จุดที่ชาวเน็ตให้ความสนใจ ก็คือชื่อของครู “พรพิมล” ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งต่างๆ รวม 4 ตำแหน่ง ได้แก่ หัวหน้ากลุ่มบริหารงานบุคคล, หัวหน้ากลุ่มบริหารงานวิชาการ, หัวหน้ากลุ่มบริหารงานงบประมาณ และหัวหน้ากลุ่มบริหารงานทั่วไป
และเอกสารดังกล่าวกลับพบว่า ผู้ที่เซ็นอนุมัติเอกสารนี้ นั้นก็คือ ครูพรพิมล เป็นผู้เซ็นอนุมัติคำสั่งแต่งตั้งตนเอง ซึ่งอยู่ในตำแหน่ง รักษาการผู้อำนวยการโรงเรียน
ผู้สื่อข่าวเดินทางไปที่โรงเรียนวัดเกศแก้ว ม.4 ต.วังน้ำเย็น อ.วังน้ำเย็น จ.สระแก้ว อยู่ห่างจาก รพ.วังน้ำเย็นไม่ถึง 100 เมตร พบกับ น.ส.พรพิมล ศรีพลนอก ตำแหน่งครูผู้ช่วย โครงการครูคืนถิ่น จบเอกภาษาไทย เพิ่งบรรจุเป็นข้าราชการครูได้เพียง 1 ปีเท่านั้น
ปัจจุบันต้องรักษาราชการแทนในตำแหน่ง ผอ.โรงเรียนวัดเกศแก้ว และทุกตำแหน่งในโรงเรียน เพราะโรงเรียนเหลือครูแค่ 2 คน คือตัวเธอเองกับครูธุรการอีก 1 คน โดยมีนักเรียนทั้งหมด 40 คน
แต่หลังเปิดเทอมได้ 1 สัปดาห์ ก็มีครูเกษียณที่เพิ่งเกษียณแวะเวียนมาช่วยสอนชั้น ป.5 และ ป.6 จากเดิมที่ โรงเรียนนี้มีครูอยู่ 5 คน โดยผู้อำนวยการโรงเรียนคนเก่า และครูผู้สอนอีกคน ขอย้ายกลับภูมิลำเนา ครูเกษียณอายุราชการ 1 คน ทำให้เธอต้องรักษาการตำแหน่งดังกล่าวต่าง ๆ ด้วยทุกตำแหน่ง โดยมีนายกล่ำ หาโกสีห์ ผอ.โรงเรียนอนุบาลวังน้ำเย็นมิตรภาพที่ 179 ในฐานะผู้อำนวยการโรงเรียนกลุ่มเครือข่าย ช่วยดูแลและให้คำปรึกษาอยู่ในปัจจุบัน
น.ส.พรพิมล เปิดใจกับผู้สื่อข่าว ภายหลังเกิดกระแสดังไปทั่วทั้งโลกโซเชียลมีเดีย เนื่องจากมีครูอย่างน้อย 1 ราย ที่ประกาศลาออกจากอาชีพข้าราชการครู เพราะแบกรับภาระไม่ไหวไปก่อนหน้านี้ โดยสาเหตุที่เธอโพสต์กรณีนี้ออกไปเพราะ เมื่อวันเสาร์ได้เข้าร่วมอบรมครูคืนถิ่น ก็เลยบอกกับครูธุรการว่า เรายังไม่ได้ทำคำสั่งหัวหน้า 4 ฝ่าย เพราะว่าเมื่อตอนเปิดเทอมได้ทำคำสั่งประชุมผู้ปกครองไปแล้ว ก็เลยทำคำสั่งหัวหน้า 4 ฝ่ายออกมา และเป็นข่าวอย่างที่เห็น แต่ไม่ได้มีเจตนาที่จะไปพาดพิงถึงองค์กรเลย
ไม่ได้หมายถึงความน้อยเนื้อต่ำใจ ก็เข้าใจว่า อยู่ในช่วงรอยต่อที่เขตพื้นที่จะจัดสรรคนมาให้ ซึ่งล่าสุด สพป.หรือสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเขต 1 จะมีการเพิ่มอัตรากำลังคน 4 อัตรา มาให้ ซึ่งขณะนี้ยังไม่ทราบ แต่ก็รู้สึกดีใจที่จะได้ ครูมาช่วย เพราะตอนนี้อยู่กับกับคุณครูธุรการและได้ไปขอให้คุณครูที่เกษียณไปเมื่อเดือน ก.ย.64 มาช่วยสอน
ตนต้องสอน ป.1, ป.2 ,ป.3 , ป.4 ซึ่งจะทิ้งเด็ก ป.1 และ ป.2 ไม่ได้เลย บางครั้งก็รู้สึกท้อ บางทีสอน ป.1 ป.2 อยู่ แล้วเด็ก ป.3 และ ป.4 ก็เรียกคุณครูขา ก็ต้องรีบวิ่งเพื่อมาสอน ยังดีได้คุณครูธุรการมาช่วยดูแลการสอนวิชาอื่น เพราะครูจบเอกภาษาไทย แต่อย่างว่า โรงเรียนประถมได้สอนทุกวิชา ไม่ได้มีเจตนาที่จะต่อว่า ว่าทำไมหน่วยงานไม่ส่งครูมาช่วย แต่ตอนนี้ดีใจคะที่ต้นสังกัดจะส่งบุคลากรมาเพิ่ม
จึงอยากฝากขอโทษหน่วยงานต้นสังกัด เพราะด้วยความที่รู้เท่าไม่ถึงการณ์ของตนเองด้วย ซึ่งสิ่งที่ตนเองได้จากการโพสต์อย่างหนึ่งคือ ยังมีอีกหลาย ๆ โรงเรียนที่เป็นโรงเรียนขนาดเล็กที่เจอปัญหาเหมือนกัน เช่น เพื่อนของตนเองที่เจอปัญหาเหมือนกันที่ได้รับการบรรจุเป็นครูคืนถิ่น ก็ได้รักษาการในตำแหน่งต่าง ๆ นี้เหมือนกัน โดยนักเรียนในโรงเรียนวัดเกศแก้ว ปัจจุบันมีนักเรียน 40 คน ซึ่งตนเป็นข้าราชการครูคนเดียวในโรงเรียน และมีครูธุรการอีก 1 คน เท่านั้น
หลังจากเรื่องนี้กลายเป็นกระแส ทีมผู้บริหารจากโรงเรียนกลุ่มเครือข่าย นำโดย นายกล่ำ หาโกสีห์ ผอ.โรงเรียนอนุบาลวังน้ำเย็นมิตรภาพที่ 179 และโรงเรียนใกล้เคียง ได้เดินทางเข้าให้กำลังใจ น.ส.พรพิมล และครูภายในโรงเรียน พร้อมรับปากจะช่วยกันหาทางแก้ไข เพื่อแบ่งเบาภาระของครูที่เหลืออยู่ ภายหลังโรงเรียนนี้เปิดการเรียนการสอนแบบ On Site ได้เพียง 1 สัปดาห์

อ่านข่าวเพิ่มเติมได้ที่ : https://ch3plus.com/news/program/266057

เรื่องเล่าเช้านี้ (Morning News)
วันที่ 16 พฤศจิกายน 2564
ติดตามความเคลื่อนไหวข่าวสารก่อนใครได้ที่นี่
ch3plus : https://ch3plus.com/news/programs/morning
facebook : https://www.facebook.com/MorningNewsTV3
Twitter : https://twitter.com/MorningNewsTV3
YouTube : https://cutt.ly/MorningnewsTV3

เปิดใจ 'ครูพรพิมล' ขอโทษต้นสังกัด โพสต์นั่งควบ 5 ตำแหน่ง ต้นสังกัดเร่งหาครูช่วย

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆLEARN TO MAKE A WEBSITE

ขอบคุณที่รับชมกระทู้ครับ วัน ครู มหาวิทยาลัย หยุด ไหม

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *