Skip to content
Home » [NEW] ภาษีมูลค่าเพิ่มคืออะไร ทำไมถึงมีความสำคัญ- tanateauditor | vat คือ – NATAVIGUIDES

[NEW] ภาษีมูลค่าเพิ่มคืออะไร ทำไมถึงมีความสำคัญ- tanateauditor | vat คือ – NATAVIGUIDES

vat คือ: คุณกำลังดูกระทู้

วิธีการคำนวณภาษีมูลค่าเพิ่ม (Vat)

ผู้ประกอบการจะต้องรวบรวมภาษีขาย (Output vat) และภาษีซื้อ (Input vat) ที่เกิดขึ้นทั้งหมดในแต่ละเดือน มาคำนวณเพื่อชำระภาษีให้แก่กรมสรรพากรดังต่อไปนี้

ภาษีมูลค่าเพิ่มที่ต้องนำส่ง = ภาษีขาย – ภาษีซื้อ

หาก ภาษีขาย (Output vat) > ภาษีซื้อ (Input vat) บริษัทจะต้องนำส่งภาษีมูลค่าเพิ่มให้แก่กรมสรรพากร เนื่องจากมีภาษีมูลค่าที่เรียกเก็บจากลูกค้ามากกว่าภาษีมูลค่าเพิ่มที่ถูกเก็บจาก Supplier

หาก ภาษีซื้อ (Input vat) > ภาษีขาย (Output vat) บริษัทจะสามารถนำยอดส่วนเกินไปเครดิตภาษีในเดือนถัดไป หรือจะขอภาษีคืนเป็นเงินสดก็ได้

จากตัวอย่างก่อน กรณีบริษัท A มีภาษีขายทั้งสิ้น 7 บาท มีภาษีซื้อทั้งสิ้น 2.8 บาท กรณีนี้ ภาษีขาย > ภาษีซื้อ ดังนั้นบริษัท A จะต้องนำส่งภาษีมูลค่าเพิ่มให้กรมสรรพากรเป็นจำนวน 7 – 2.8 = 4.2 บาท

อย่างไรก็ตามตามสูตรดังกล่าวจะเห็นได้ว่าจริงแล้วผู้ประกอบการไม่ได้เป็นผู้รับภาระภาษีมูลเพิ่มที่แท้จริง เนื่องจากภาษีขายก็เรียกเก็บมาจากลูกค้า ส่วนภาษีซื้อที่จ่ายไปก็สามารถนำมาหักจากภาษีขายได้ ดังนั้นผู้ที่เสียภาษีมูลค่าเพิ่มที่แท้จริงคือผู้บริโภคสินค้าและบริการอย่างเราๆที่ไม่สามารถไปขอคืนภาษีมูลค่าเพิ่มจากใครได้แล้วนั่นเอง ตามแผนภาพดังนี้

แผนภาพ Vat

โรงงาน B ขายสินค้า 200 บาท ภาษีขาย 14 บาท ให้โรงงาน C และโรงงาน B ซื้อสินค้า 100 บาท ภาษีซื้อ 7 บาท จากโรงงาน A ภาษีที่นำส่งสรรพากรคือ ภาษีขาย – ภาษีซื้อ = 14 – 7 = 7 บาท ซึ่งจะเห็นได้ว่าภาษีขาย 14 บาทที่ต้องนำส่งนั้นโรงงาน B เรียกเก็บมาจากโรงงาน C ส่วนภาษีซื้อ 7 บาท ก็สามารถนำมาหักจากภาษีขายได้ ดังนั้นโรงงาน B ไม่ได้เป็นผู้รับภาระภาษีมูลค่าเพิ่มที่แท้จริง

โรงงาน C ขายสินค้า 300 บาท ภาษีขาย 21 บาท ให้ผู้บริโภคโดยตรง และโรงงาน C ซื้อสินค้า 200 บาท ภาษีซื้อ 14 บาท จากโรงงาน B ภาษีที่นำส่งสรรพากรคือ ภาษีขาย – ภาษีซื้อ = 21 – 14 = 7 บาท ซึ่งจะเห็นได้ว่าภาษีขาย 21 บาทที่ต้องนำส่งนั้นโรงงาน C เรียกเก็บมาจากผู้บริโภค ส่วนภาษีซื้อ 14 บาท ก็สามารถนำมาหักจากภาษีขายได้ ดังนั้นโรงงาน C ไม่ได้เป็นผู้รับภาระภาษีมูลค่าเพิ่มที่แท้จริง

ผู้บริโภคที่ซื้อสินค้าจากโรงงาน C มูลค่ารวม 321 บาท มีภาษีซื้อ 21 บาท ไม่สามารถขอคืนภาษีจากใครได้อีกแล้ว ดังนั้นผู้บริโภคจึงเป็นผู้ที่รับภาระภาษีมูลค่าเพิ่ม (vat) ที่แท้จริง

[NEW] ภาษีมูลค่าเพิ่มคืออะไร ทำไมถึงมีความสำคัญ- tanateauditor | vat คือ – NATAVIGUIDES

วิธีการคำนวณภาษีมูลค่าเพิ่ม (Vat)

ผู้ประกอบการจะต้องรวบรวมภาษีขาย (Output vat) และภาษีซื้อ (Input vat) ที่เกิดขึ้นทั้งหมดในแต่ละเดือน มาคำนวณเพื่อชำระภาษีให้แก่กรมสรรพากรดังต่อไปนี้

ภาษีมูลค่าเพิ่มที่ต้องนำส่ง = ภาษีขาย – ภาษีซื้อ

หาก ภาษีขาย (Output vat) > ภาษีซื้อ (Input vat) บริษัทจะต้องนำส่งภาษีมูลค่าเพิ่มให้แก่กรมสรรพากร เนื่องจากมีภาษีมูลค่าที่เรียกเก็บจากลูกค้ามากกว่าภาษีมูลค่าเพิ่มที่ถูกเก็บจาก Supplier

หาก ภาษีซื้อ (Input vat) > ภาษีขาย (Output vat) บริษัทจะสามารถนำยอดส่วนเกินไปเครดิตภาษีในเดือนถัดไป หรือจะขอภาษีคืนเป็นเงินสดก็ได้

จากตัวอย่างก่อน กรณีบริษัท A มีภาษีขายทั้งสิ้น 7 บาท มีภาษีซื้อทั้งสิ้น 2.8 บาท กรณีนี้ ภาษีขาย > ภาษีซื้อ ดังนั้นบริษัท A จะต้องนำส่งภาษีมูลค่าเพิ่มให้กรมสรรพากรเป็นจำนวน 7 – 2.8 = 4.2 บาท

อย่างไรก็ตามตามสูตรดังกล่าวจะเห็นได้ว่าจริงแล้วผู้ประกอบการไม่ได้เป็นผู้รับภาระภาษีมูลเพิ่มที่แท้จริง เนื่องจากภาษีขายก็เรียกเก็บมาจากลูกค้า ส่วนภาษีซื้อที่จ่ายไปก็สามารถนำมาหักจากภาษีขายได้ ดังนั้นผู้ที่เสียภาษีมูลค่าเพิ่มที่แท้จริงคือผู้บริโภคสินค้าและบริการอย่างเราๆที่ไม่สามารถไปขอคืนภาษีมูลค่าเพิ่มจากใครได้แล้วนั่นเอง ตามแผนภาพดังนี้

แผนภาพ Vat

โรงงาน B ขายสินค้า 200 บาท ภาษีขาย 14 บาท ให้โรงงาน C และโรงงาน B ซื้อสินค้า 100 บาท ภาษีซื้อ 7 บาท จากโรงงาน A ภาษีที่นำส่งสรรพากรคือ ภาษีขาย – ภาษีซื้อ = 14 – 7 = 7 บาท ซึ่งจะเห็นได้ว่าภาษีขาย 14 บาทที่ต้องนำส่งนั้นโรงงาน B เรียกเก็บมาจากโรงงาน C ส่วนภาษีซื้อ 7 บาท ก็สามารถนำมาหักจากภาษีขายได้ ดังนั้นโรงงาน B ไม่ได้เป็นผู้รับภาระภาษีมูลค่าเพิ่มที่แท้จริง

โรงงาน C ขายสินค้า 300 บาท ภาษีขาย 21 บาท ให้ผู้บริโภคโดยตรง และโรงงาน C ซื้อสินค้า 200 บาท ภาษีซื้อ 14 บาท จากโรงงาน B ภาษีที่นำส่งสรรพากรคือ ภาษีขาย – ภาษีซื้อ = 21 – 14 = 7 บาท ซึ่งจะเห็นได้ว่าภาษีขาย 21 บาทที่ต้องนำส่งนั้นโรงงาน C เรียกเก็บมาจากผู้บริโภค ส่วนภาษีซื้อ 14 บาท ก็สามารถนำมาหักจากภาษีขายได้ ดังนั้นโรงงาน C ไม่ได้เป็นผู้รับภาระภาษีมูลค่าเพิ่มที่แท้จริง

ผู้บริโภคที่ซื้อสินค้าจากโรงงาน C มูลค่ารวม 321 บาท มีภาษีซื้อ 21 บาท ไม่สามารถขอคืนภาษีจากใครได้อีกแล้ว ดังนั้นผู้บริโภคจึงเป็นผู้ที่รับภาระภาษีมูลค่าเพิ่ม (vat) ที่แท้จริง


Đánh cá chim khôn quá đánh hoài không được phải dùng mẹo xem hay như phim hành động – Dân Biển


Xin chào các bạn đã đến với kênh Dân Biển
Hôm nay mình sẻ giới thiệu với các bạn video : Đánh cá chim khôn quá đánh hoài không được phải dùng mẹo xem hay như phim hành động Dân Biển
Kênh được tạo ra nhằm mục đích quay lại những video khoảnh khắc đẹp trên vùng biển quê hương việt nam yêu dấu của chúng ta
Các góp ý về kênh hãy bình luận ở dưới video nhé
Các bạn hãy nhớ Đăng Ký ủng hộ theo dõi mỗi khi kênh phát hành video mới nhé
DânBiển DanBien
Link đăng ký ủng hộ Sub YouTuBe : https://bit.ly/2Bah56B
Link đăng ký ủng hộ Sub Facebook : https://bitly.com.vn/zwuqen
Link đăng ký ủng hộ TikTok :https://bitly.com.vn/p6enle
Cảm ơn các bạn chúc các bạn một ngày tốt lành
Các bạn muốn mua Mực 1 Nắng Mực Khô hãy liên hệ qua zalo : 0918913797 nhé

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

Đánh cá chim khôn quá đánh hoài không được phải dùng mẹo xem hay như phim hành động - Dân Biển

ก่อนทำธุรกิจต้องรู้ ไม่งั้นโดนปรับ : ภาษีมูลค่าเพิ่ม (VAT) | SERIES เริ่มทำธุรกิจ ต้องดู | EP.14


วันนี้จะพามาคุยเรื่องภาษีมูลค่าเพิ่ม (VAT) ว่าภาษีมูลค่าเพิ่มคืออะไร และเรามีหน้าที่นำส่งให้สรรพากรอย่างไรบ้าง เพื่อที่ทุกคนที่กำลังจะเริ่มทำธุรกิจ หรือใครที่ขายของออนไลน์หาเงินได้เยอะ แล้วคิดจะจดบริษัทเป็นของตัวเองจะได้วางแผนภาษีกันได้ถูกครับ ในวันนี้เรามาเริ่มต้นจากภาษีมูลค่าเพิ่มกันก่อน ก่อนที่จะไปคุยว่าทำธุรกิจอะไรดี เพราะบางคนเป็นพนักงานประจำ หรือมนุษย์เงินเดือน อยากหาเงินออนไลน์ หารายได้เสริม เพราะหาเงินสมัยนี้ไม่ยากแล้ว บางคนอาชีพเสริมเดือนละล้าน จากการขายของออนไลน์เดือนละล้านเลยนะครับ

คนที่กำลังจะเริ่มทำธุรกิจ แล้วคิดว่าทำธุรกิจอะไรดี หรือทำธุรกิจอะไรได้เงินดี เพราะอยากหาอาชีพเสริมหรืออาชีพพารวย ก็มักจะเจอปัญหาเรื่องการทำบัญชีบริษัทใช่ไหมครับ เพราะว่าตอนที่เราอยากจะทำธุรกิจอะไรดี หลายคนเนื่องจากไอเดียธุรกิจว่าจะทำธุรกิจให้รวย ต้องทำธุรกิจอะไรดี แต่พอเริ่มทำธุรกิจจริงแล้วก็ต้องปวดหัวกับเรื่องบัญชีและเอกสารทางภาษีที่ต้องส่งสรรพากรก่อนใช่ไหมครับ
ซึ่งของคิดว่าการวางแผนภาษีให้ดีเป็นเรื่องที่จำเป็นในการทำธุรกิจให้ประสบความสำเร็จเพราะว่ายุคนี้ไม่ใช่แค่เพียงหาเงินได้เดียวอย่างเดียวนะครับ เพราะหลายครั้งแล้วหารายได้เสริมหรือหาเงินออนไลน์มาได้เยอะเยอะแต่กลับต้องโดนค่าปรับเรื่องภาษีเพราะเรารู้เท่าไม่ถึงการณ์
เค้าไม่ว่าคุณจะหารายได้เสริมจากการทำธุรกิจหรือหาเงินออนไลน์แม้กระทั่งขายของออนไลน์คุณก็อาจจะโดนปรับได้ถ้าหากคุณไม่วางแผนภาษีให้ดีครับ ดังนั้นวันนี้เราจะมาคุยเรื่องภาษีมูลค่าเพิ่ม หรือ VAT กันให้เข้าใจไปเลยทีเดียว
reference:
https://peakaccount.comblog/ภาษีมูลค่าเพิ่มคืออะไร/
http://www.rd.go.th/publish/27864.0.html
https://onesiriacc.com//2019/04/06/ทำธุรกิจเสียภาษีอย่าไร/
https://www.myaccountcloud.com/Article/Detail/91924
https://www.itax.in.th/pedia/ภาษีมูลค่าเพิ่ม/
https://www.moneywecan.com/vat/
https://diveshop.in.th/รู้จักภาษีมูลค่าเพิ่ม
https://thailawonline.com/th/business/taxlaw/valueaddedtaxvat.html
================
วิดีโอแนะนำ
ปี 2020 ธุรกิจอะไรมาแรง + คนไทย กำลังอยากซื้ออะไร ?
https://youtu.be/rxx2_QomZ3A
ร้านอาหาร กำไร 5,000 บาท แต่คนมาขอซื้อกิจการ 10 ล้านบาท เค้าทำได้ยังไง ?
https://youtu.be/s3mVuXHyXps
ขายของออนไลน์ รับเงินเข้าบัญชีส่วนตัว จะโดนปรับไหม ผิดกฎหมายหรือเปล่า ?
https://youtu.be/zDSetS9P3fc
================
อย่าลืมกด Subscribe
จะได้ไม่พลาด ความรู้เรื่องธุรกิจ นอกห้องเรียน ได้ที่นี่
https://www.youtube.com/channel/UCJIZQVifKydwChTBvJzRIkg

ก่อนทำธุรกิจต้องรู้ ไม่งั้นโดนปรับ : ภาษีมูลค่าเพิ่ม (VAT) | SERIES เริ่มทำธุรกิจ ต้องดู | EP.14

รู้ภาษีใน 1 นาที : ภาษีซื้อคืออะไร เกี่ยวอะไรกับภาษีมูลค่าเพิ่มไหม ?


ภาษีซื้อ คืออะไร เกี่ยวข้องยังไงกับภาษีมูลค่าเพิ่ม ลองฟังคลิปนี้กับรู้ภาษีใน1นาทีกันดูครับผม

รู้ภาษีใน 1 นาที :  ภาษีซื้อคืออะไร เกี่ยวอะไรกับภาษีมูลค่าเพิ่มไหม ?

Đêm Nay Trúng Quả Lớn Bịch CÁ NGỪ Siêu To / Đánh bắt hải sản biển P212


Đêm Nay Trúng Quả Lớn Bịch CÁ NGỪ Siêu To / Đánh bắt hải sản biển P212
➼ Xem các Video khác tại đây: https://bit.ly/2OptOoy

“ Dân Chài biết biển nguy hiểm bão tố Chưa bao giờ thấy thế lại chùn chân” .
Cuộc đời là những chuyến đi Chúng tôi là những ngư dân. Sống lênh đênh trên biển trời sâu thẳm. Nắng, Gió là bạn Biển là nhà.
Mỗi lần ra khơi mang theo hành trang và một lời tâm sự. “ Ngày về cá mực nhớ đầy khoang”.
Chào mừng các bạn đã ghé thăm kênh của ngư dân chúng tôi. Hãy Đăng Ký kênh để theo dõi những video đánh bắt hải sản cá mực… và cuộc sống trên biển của ngư dân.
❖ Các bạn ĐĂNG KÝ KÊNH Miễn Phí tại đây:
➼ Youtube: https://bit.ly/2TWGxFh
➼ Facebook: https://www.facebook.com/haiphong.nhipsong.1
➼ Twitter: https://twitter.com/NhipHai
❖ XIN CHÂN THÀNH CẢM ƠN CÁC BẠN!
© Bản quyền Video thuộc về NHỊP SỐNG HẢI PHÒNG Đề nghị Không sao chép dưới mọi hình thức! Thân!
© Copyright by NHỊP SỐNG HẢI PHÒNG ☛ Do not Reup
nhipsonghaiphong
cangu
batcangudaiduong

Đêm Nay Trúng Quả Lớn Bịch CÁ NGỪ Siêu To / Đánh bắt hải sản biển P212

จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มด้วยตัวเอง ผ่านอินเทอร์เน็ต | ยื่นแบบผ่านอินเทอร์เน็ต | VAT


อธิบายขั้นตอนการยื่นแบบภาษีมูลค่าเพิ่มผ่านทางอินเทอร์เน็ตได้ด้วยตนเอง โดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายไปจ้างใคร สะดวก สบาย ประหยัด ปลอดภัยจาก COVID19
แนะนำการเข้าเมนูตั้งแต่เริ่มแรกโดยละเอียด
เนื่องจากหน้าเว็บไซต์กรมสรรพากรเปลี่ยนใหม่ ผู้เสียภาษีอาจจะยังไม่ทราบว่าการเข้าสู่เมนู จด VAT online ต้องเข้าอย่างไร เราจะพาท่านเข้าไปตั้งแต่หน้าหลัก ไปจนถึงวิธีการกรอกข้อมูล
แนะนำว่าผู้ประกอบการต้องดู นำไปใช้งานได้จริง ๆ
ถ้ามีคำถาม สงสัยตรงไหน ทิ้งไว้ใต้คลิปได้เลย

@Taxeasy byPK
TaxeasybyPK

ฝากกด Subscribed เป็นกำลังใจให้พวกเราด้วยนะคะ และเพื่อไม่ให้พลาดสาระดีดี อย่าลืมกดกระดิ่งด้วยนะคะพี่พี่

ติดตาม TaxeasyByPK ช่องทางอื่นๆ ได้ที่
Facebook : https://www.facebook.com/taxeasyByPK
มีปัญหาสอบถาม รับปรึกษาพูดคุยกันได้ ที่ comment ค่ะ

จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มด้วยตัวเอง ผ่านอินเทอร์เน็ต | ยื่นแบบผ่านอินเทอร์เน็ต | VAT

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆLEARN TO MAKE A WEBSITE

ขอบคุณที่รับชมกระทู้ครับ vat คือ

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *