Skip to content
Home » [NEW] “บอกเวลาในภาษาอังกฤษ (Time in English) ” | เรา สามารถ เป็น เพื่อน กัน ได้ ภาษา อังกฤษ – NATAVIGUIDES

[NEW] “บอกเวลาในภาษาอังกฤษ (Time in English) ” | เรา สามารถ เป็น เพื่อน กัน ได้ ภาษา อังกฤษ – NATAVIGUIDES

เรา สามารถ เป็น เพื่อน กัน ได้ ภาษา อังกฤษ: คุณกำลังดูกระทู้

Hi guys! สวัสดีค่ะนักเรียนชั้น ป.5 ที่น่ารักทุกคน วันนี้เราจะไปดูวิธีการ “บอกเวลาในภาษาอังกฤษ (Telling Time in English) ” กันค่ะ
ถ้าพร้อมแล้วก็ไปลุยกันเลย

Table of Contents

 บทนำ

ในบทเรียนนี้ครูขอยกตัวอย่างการบอกเวลาที่นิยมใช้กันโดยทั่วไปใน 2 รูปแบบ ตามที่มาของ Native English หรือ ภาษาอังกฤษของเจ้าของภาษา นะคะ  ดังตัวอย่างดังต่อไปนี้

  • British English แบบบริติช
  • American English แบบอเมริกัน

โครงสร้างประโยคคำถาม

ประโยคคำถาม เพื่อถามถึงเวลา เช่น

  • ถามเวลาแบบ Direct question:

What time is it right now?

= ตอนนี้เป็นเวลากี่โมงแล้ว

 

เรามักจะเจอคำถามในลักษณะนี้ในสถานการณ์แบบเป็นกันเอง ภาษาที่ใช้จะดูใกล้ชิดสนิทสนมมากกว่า ซึ่งอาจจะเป็นเพื่อนเราที่ถามทาง หรือ คนใกล้ตัว คุณพ่อ คุณแม่ เป็นต้น

 

  • ถามเวลาแบบ Indirect question: Can I know…= ขอทราบ/ถาม หน่อย…

Can you tell me what time it is?
= ขอถามหน่อยว่ากี่โมงแล้ว

Excuse me, can I know what time it is?
= ขอโทษนะ ขอทราบหน่อยว่าเป็นเวลากี่โมงแล้ว

***การถามเวลาในรูปแบบประโยคลักษณะ Indirect questions นี้ ประโยคของเราจะดูเป็น ทางการและสุภาพมากยิ่งข้น

 

บอกเวลาแบบ British English

 

 

ใน British English จะใช้ระบบเวลาแบบ 12 ชั่วโมง โดยจะใช้เลข 1 -12 ตามด้วยคำบอกเวลา a.m. และ p.m. ซึ่งเป็นรูปแบบที่นิยมใช้กันโดยทั่วไปในภาษาอังกฤษนั่นเองค่า

 

  • การใช้ a.m. และ p.m.

a.m. = ante meridiem ใช้กับเวลา หลังเที่ยงคืน จนถึง ก่อนเที่ยงวัน
(00.01 a.m. – 11.59 a.m.)

p.m. = post meridiem ใช้กับเวลาหลังเที่ยงวัน จนถึง ก่อนเที่ยงคืน
(12.00 p.m. – 11.59 p.m.)

 

หากว่าต้องการบอกเวลาเต็มชั่วโมง ให้เติมคำว่า “o’clock” ท้ายเวลา หรือพูด a.m. และ p.m. ตามด้วยเวลาต่างๆ ก็ได้ เช่นกันค่ะ

 

11.00 a.m. = eleven o’clock in the morning

แปลว่า ตอนนี้เป็นเวลาสิบเอ็ดโมงเช้า

05.00 p.m. = five o’clock in the afternoon

แปลว่า ตอนนี้เป็นเวลาห้าโมงเย็น

 

 

การใช้ to กับเวลาที่กำลังจะมาถึง 

 

 

เวลาที่ผ่านชั่วโมง และเกิน 30 นาทีมาแล้ว ให้บอกนาทีที่เหลือก่อนจะถึงชั่วโมงถัดไป ตามด้วย “to”  และชั่วโมงถัดไป เช่น

 

08.40 p.m. = twenty to nine

แปลว่า อีกยี่สิบนาทีจะถึงเก้านาฬิกาแล้ว

 สำหรับ การบอกเวลาแบบ British English หากนาฬิกาเป็นเวลา 15 นาทีหรือ 45 นาที ให้ใช้คำว่า a quarter และหากเป็น 30 นาที ให้ใช้ half เช่น

 

06.15 a.m. = a quarter past six

07.30 a.m. = a half past thirty

 

การใช้ “past”

 

past เป็นคำคุณศัพท์ เมื่อใช้กับการบอกเวลา จะแปลว่า ผ่าน….มา……แล้ว โดยส่วนมากจะใช้กับเวลาที่ผ่านล่วงเลยมาไม่ถึง 30 นาที เช่น

 

10.20 a.m. = twenty past ten
แปลว่า  ผ่านสิบนาฬิกามามายี่สิบนาทีแล้ว

ถือว่าเป็นการบอกเวลาทางอ้อม เพราะว่าไม่บอกมาตรงๆ มักจะเจอรูปแบบประโยคนี้ในสถานการณ์ปกติ ที่ไม่เร่งรีบ ในชั้นเรียน แต่อาจจะไม่ใช่การถามเวลาก่อนเที่ยงที่น้องๆหิวข้าว เป็นต้น

 

บอกเวลาแบบ American English

 

 

การอ่านเวลาแบบชาวอเมริกันนั้นได้กำหนดวิธีการบอกเวลาในภาษาอังกฤษสไตล์ชิวๆ ไม่ซับซ้อนเท่ากับวิธีการของ
ชาวบริติช
ซึ่ง American English จะมีการใช้ระบบเวลาแบบ 24 ชั่วโมง โดยจะใช้ตั้งแต่ตัวเลข 0 ไปจนถึง ตัวเลข 24 และส่วนใหญ่จะไม่มี a.m. และ p.m.
ให้ยุ่งยาก ตามสไตล์
easy going ซึ่งเป็นลักษณะนิสัยของคนอเมริกันเลยทีเดียว ง่ายๆ ไม่ทำให้ยุ่งยาก

วิธีการบอกเวลาของชาวอเมริกันคือ ให้บอกเลขชั่วโมงก่อนตามด้วยเลขนาที โดยทั่วมักจะในกรณีที่เป็นทางการมากๆ  เช่น

 

เวลา 21.15 น. = twenty-one fifteen

เวลา 08.09* น. = eight O nine 

ขออธิบายเพิ่มเติม:

*ใช้เสียง O อ่านว่า โอ จะใช้ แทนเลข 0 ใน American English

 

นอกจากนี้ยังมีคำวิเศษณ์เพื่อประมาณเวลา อีกด้วย เช่น about หรือ nearly  ซึ่งแปลว่า ประมาณ หรือ เกือบๆ เช่น

 

เวลา 09.05 น. =It’s about nine o’clock (แม้ว่าจะผ่านมาแล้วตั้ง 5 นาทีก็ตาม)

เวลา 10.28 น.  = It’s nearly half past ten (แม้ว่าจะยังไม่ถึงครึ่งชั่วโมงก็ตาม)

 

 

บอกเวลาตอนเที่ยง

 

 

ในเวลาเที่ยงคืนหรือเที่ยงวัน สามารถใช้คำว่า “midnight” หรือ “midday / noon” แทนเลข 12 ได้ เช่น  เวลา 00:00 น. แทนช่วงเวลานี้ ว่า midnight หรือ เวลา 12:00 น. แทนช่วงเวลานี้ว่า midday or noon

ส่วนในการพูดอย่างเป็นทางการ สามารถใช้ “a.m.” หรือ “p.m.” ประกอบได้อยู่เหมือนเดิม
เช่น  เวลา 05:15 น. บอกได้ว่า 

It is five fifteen a.m.

= เป็นเวลา ตีห้า  สิบห้านาที

แต่ถ้าไม่เป็นทางการมาก เช่นบอกเวลาเพื่อนที่อยู่ใกล้ๆกัน
ก็สามารถพูดได้ว่า It is ten fifteen.
(ไม่ต้องบอก a.m. ก็ได้ แต่หากช่วงเวลาที่คุยเป็นกลางวัน เพื่อนก็จะเข้าใจไปโดยปริยายว่า มันคือเวลา สิบโมง สิบนาที )

ในกรณีที่ลืมว่า ควรจะใช้ a.m. หรือ p.m. ดี ให้ใช้วลีบอกเวลา เพ่อให้ผู้ที่เราพูดด้วยรู้ว่าเรากำลังบอกเวลาช่วงไหน โดยใช้ in/at แล้วตามด้วยช่วงเวลา เช่น

in the morning = ช่วงเช้า
at midday = เที่ยงวัน
at midnight = เที่ยงคืน
in the afternoon = ตอนบ่าย
in the evening = ตอนเย็น
at night = ตอนกลางคืน

 

แม้ว่าจะมีความแตกต่างกันอยู่ แต่คนที่เลือกใช้ก็คือตัวเราเอง ครูแนะนำให้ดูบริบทการใช้ให้มากนะคะ เช่นตัวอย่างประโยคด้านล่างนี้นะคะ

 

Situation I: At the train station (สถานการณ์เกิดที่ลานชาลาสถานีรถไฟ)

 

 

Romeo: Excuse me sir, what time is it now?
= ขอโทษนะครับ ตอนนี้เป็นเวลากี่โมงแล้ว

Tom: It’s a half past ten.
= ตอนนี้ผ่านสิบนาฬิกามาครึ่งชั่วโมงแล้วครับ

Rome: Thank you sir. When will the next train arrive?
= ขอบคุณครับ แล้วรถไฟเที่ยวถัดไปจะมากี่โมงครับ

Tom: It will arrive in a minute.
= เดี๋ยวก็มาแล้วครับ

 

Situation II: At NokAcademy School (สถานการณ์เกิดที่โรงเรียน นกอะคาเดมี)

 

Nestie: Jenny, what time is it now?
= เจนนี่ ตอนนี้กี่โมงแล้ว

Jenny: It’s 9 O’ clock. Why did you ask?
= ตอนนี้เก้าโมง ถามทำไม

Nestie: Oh my gosh, we need to go now.
= โอ้ มาย กอด เราต้องไปตอนนี้เลย

Jenny: Why?
= ทำไมล่ะ

Nestie: The class was already begun 10 minutes ago.
= ชั้นเรียนเริ่มเมื่อ 10 นาทีที่แล้ว (เราเข้าชั้นเรียนสาย 10 นาทีแล้ว)

น้องๆนักเรียนทุกคน อย่าลืมทบทวนบทเรียน  เรื่อง การบอกเวลาในภาษาอังกฤษ กับทีชเชอร์กรีซได้ที่วีดีโอด้านล่างนี้นะคะ แล้วเจอกันใหม่ค่า
See you again next time.

+1

[NEW] คำขึ้นต้นเพื่อทักทาย และคำลงท้ายปิดข้อความ ในจดหมายภาษาอังกฤษ | เรา สามารถ เป็น เพื่อน กัน ได้ ภาษา อังกฤษ – NATAVIGUIDES

เพราะเหตุที่ว่า ผมได้ทำเว็บไซต์ที่สื่อสารกับผู้เยี่ยมชมเป็นภาษาอังกฤษอยู่หลายเว็บ ในบางทีก็ลังเลอยู่เหมือนกันว่า ควรจะใช้คำขึ้นต้น (คำทักทาย)  และคำลงท้าย อย่างไรดีเพื่อตอบจดหมายอีเล็คโทรนิค ที่เราเรียกว่า

email

เพื่อสร้างปฏิสัมพันธ์กับผู้คนบนเว็บ  เช่นเดียวกันบนเว็บไซต์ส่วนใหญ่มักจะมีหน้าเว็บที่ใช้บอกเรื่องราวเกี่ยวกับตัวผู้เขียน คือ หน้าเกี่ยวกับฉัน (เรา) หรือในภาษาอังกฤษก็เป็นหน้า

about me, about us,

หรือ

about the authors

ก็จะต้องมีคำขึ้นต้น (คำทักทาย)  และคำลงท้าย ที่เหมาะสมกับอัตลักษณ์ของเว็บไซต์ และบุคลิกภาพของผู้เยี่ยมชมที่เราคาดเดาว่าน่าจะเป็นอย่างนั้น

 

คำขึ้นต้น (คำทักทาย) และคำลงท้าย ที่ใช้ในจดหมายภาษาอังกฤษ หรือสื่อต่าง ๆนั้น เราต้องให้ความสำคัญ และระมัดระวังในการที่จะเลือกใช้คำ หรือวลีให้ถูกกาลเทศะ ซึ่งพวกฝรั่งเองก็คงมีธรรมเนียมปฏิบัติสืบต่อกันมาด้วยเช่นกัน มาดูกันว่าคำ หรือวลีแบบไหนจะเหมาะสมกับใครกันบ้าง

 

ปกติคำขึ้นต้นที่ใช้สำหรับทักทาย และคำลงท้ายที่ใช้เพื่อจบการสนทนาในจดหมายภาษาอังกฤษ หรือภาษาอื่นใดก็แล้วแต่ สิ่งที่ควรทำเป็นอย่างยิ่งก็คือ ต้องพิจารณาให้แน่ชัดว่า เรากำลังจะส่งข้อความนั้นไปถึงใคร เพื่อที่จะเลือกคำขึ้นต้น (ทักทาย) และคำลงท้ายที่เหมาะสมได้ ซึ่งสามารถแบ่งลักษณะของจดหมายได้เป็น

3

ประเภทคือ

 

:::

แบบเป็นทางการ (

Formal

)

 

ใช้ในกรณีที่เป็นจดหมายธุรกิจ หนังสือราชการ ข้อความถึงบุคคลสำคัญ สุนทรพจน์ เอกสารวิชาการ จดหมายสมัครงาน เช่น อีเมลจากธนาคารถึงลูกค้า หนังสือเวียนเพื่อทราบภายในกระทรวง หนังสือเรียนเพื่อพิจารณาถึงนายกรัฐมนตรี บันทึกการประชุมบริษัทถึงหุ้นส่วนจดทะเบียน  เป็นต้น

 

:::

แบบกึ่งทางการ (

Semi- Formal

)

 

ในกรณีที่ผู้ส่งจดหมายมีความสนิท หรือรู้จักกับผู้รับเป็นอย่างดี ในทางธุรกิจอาจใช้คำขึ้นต้น และคำลงท้ายเป็นแบบกึ่งทางการก็ได้เช่น บันทึกข้อความจากพนักงานบัญชีถึงผู้จัดการแผนกที่เป็นเพื่อนกัน หรือกรณีที่ผู้มีตำแหน่งสูงกว่ามีบันทึกสั่งงานมาถึงผู้ใต้บังคับบัญชา ก็สามารถทำหนังสือในลักษณะนี้ได้เช่นกันเช่น บันทึกการสั่งงานจากกรรมการผู้จัดการถึงผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อเป็นต้น

 

เป็นเรื่องที่อ่อนไหวเอามาก ๆ สำหรับผู้คิดจะทำหนังสือ หรือจดหมายแบบกึ่งทางการควรใคร่ครวญให้ดีเสียก่อน โดยเฉพาะเมื่อผู้ส่งมีฐานะหน้าที่การงานที่ต่ำกว่าผู้รับ การทำเป็นแบบทางการจะปลอดภัย และดูดีกว่า เพราะแม้ว่าเราจะสนิทสนมเป็นการส่วนตัวกับผู้รับ แต่บางทีจดหมายนั้นจำเป็นต้องถูกเวียนไปให้บุคคลอื่น ๆที่เกี่ยวข้องเพื่อรับทราบ หรือมีการสั่งงานจากผู้รับบนจดหมายนั้นถึงบุคคลอื่น ๆ จะได้ไม่น่าเกลียด

 

:::

แบบไม่เป็นทางการ (

Informal

)

 

ถ้าเราต้องการเขียนถึงเพื่อน คนรัก คนในครอบครัว แน่นอนว่าจดหมาย หรืออีเมล ที่มีคำทักทาย ละลงท้ายแบบไม่เป็นทางการนั้น จะเป็นทางเลือกที่ดูอบอุ่น คุ้นเคย เป็นกันเอง และจริงใจมากกว่า

 

คำขึ้นต้น หรือคำทักทายแบบเป็นทางการ

 

คำขึ้นต้นที่ใช้สำหรับการทักทายแบบเป็นทางการนั้น ควรเป็นคำที่แสดงความยอมรับนับถือ ที่ถูกเจือไปด้วยความอบอุ่น มีความเป็นมิตร และสุภาพเรียบร้อย โดยทั่วไปมักจะใช้คำว่า

Dear

และตามด้วย

 

:::

คำนำหน้าชื่อ นาย นาง นางสาว พลเอก ดอกเตอร์

 

:::

ชื่อสกุล

 

::;

เครื่องหมาย

colon :

 

เช่น

Dear Dr. Amante:

 

หมายถึง

Dear Dr. Wonka Amante

 

หรือ

 

:::

ตามด้วยชื่อ และนามสกุล โดยสามารถละคำนำหน้าชื่อได้

 

เช่น

Dear Wonka Amante:

 

หรือ

 

:::

ตามด้วยคำนำหน้าชื่อ

 

:::

ตามด้วยตำแหน่ง

 

เช่น

Dear Mr. President:

 

คำทักทายในภาษาอังกฤษในรูปแบบเป็นทางการ นอกจากคำว่า

Dear

แล้ว อาจใช้คำว่า

Attn.

แทนก็ได้ ในภาษาไทยหมายถึง เรียนคุณ  

…..

 

ปกติจดหมาย หรืออีเมลแบบเป็นทางการนั้นมักจะระบุชื่อ และนามสกุล แต่ในกรณีที่เราไม่ทราบชื่อที่แท้จริงก็อาจใช้เป็น

 

Dear Sir:

สำหรับสุภาพบุรุษ

 

Dear Madam:

สำหรับสุภาพสตรี

 

และถ้าหากไม่สามารถระบุได้อย่างเฉพาะเจาะจงในทุก ๆด้านทั้งชื่อ นามสกุล เพศ ตำแหน่ง ก็อาจใช้

 

To whom it may concern:

ก็ได้

 

คำขึ้นต้น หรือคำทักทายแบบกึ่งทางการ

 

คำทักทายขึ้นต้นใช้แบบเป็นทางการได้เลย เพียงแต่จะตามด้วยชื่อแรกของผู้รับ และตามด้วยเครื่องหมาย

colon :

เช่น

 

Dear Wonka:

 

คำขึ้นต้น หรือคำทักทายแบบไม่เป็นทางการ

 

จดหมาย หรืออีเมลแบบไม่เป็นทางการจะถูกใช้อยู่ในแวดวงเพื่อนฝูง หรือสมาชิกในครอบครัว คำขึ้นต้น หรือคำทักทายมักจะเปลี่ยนไปเป็นสำเนียงแบบภาษาพูด โดยใช้

Hi

หรือ

Hello

แล้วตามด้วยชื่อแรก และปิดลงด้วยเครื่องหมายจุลภาค

comma ,

เช่น

 

Hi Wonka,

หรือ

Hello Wonka,

คำลงท้ายที่ใช้ในจดหมายภาษาอังกฤษ


คำลงท้ายที่เรามักคุ้น ๆกันอยู่มีมากมาย เช่น 

Best, Regards, Yours, Sincerely, Yours, Yours truly, Best wishes, Loves, Hugs, Your friends, kisses

เป็นต้น เราสามารถเลือกคำลงท้ายเอามาใช้ได้ตามความเหมาะสม ซึ่งพอจะสรุปได้ตามนี้

 

::: Best, All the best, All best, Best regards, Best wishes

 

คำลงท้ายที่เกี่ยวพันกับคำว่า

Best

ได้รับการยอมรับว่าเป็นคำที่สุภาพ ที่สามารถใช้ได้กับจดหมายถึงเพื่อน กระทั่งถึงจดหมายธุรกิจ ซึ่งมีความหมายในทำนองที่ว่า ผู้ส่งมีความหวังว่าผู้ที่ได้รับจดหมายนี้จะพบเจอแต่ประสบการณ์ที่ดี และมีสิ่งดี ๆเข้ามาในชีวิตตลอดไป เป็นคำที่หวาน และผู้เชี่ยวชาญทางภาษาลงความเห็นว่าเป็นคำลงท้ายที่สามารถใช้ได้อย่างปลอดภัย และมีเสน่ห์

โดยคำว่า

Best, All best, All the best, Best wishes

จะเป็นคำลงท้ายแบบกึ่งเป็นทางการ

ในขณะที่

Best regards,

จะเป็นคำลงท้ายแบบเป็นทางการมากกว่า นอกจากนี้อาจใช้

Regards,

เฉย ๆก็ได้จะเป็นแบบกึ่งเป็นทางการ แต่ถ้าหากเติมเป็น

Warm regards,

ก็จะสร้างความอบอุ่นให้กับความรู้สึกของผู้รับได้อีกมากโขเลย

 

::: Sincerely, Sincerely yours,

 

Sincerely yours,

เป็นคำลงท้ายจดหมายแบบเป็นทางการที่นิยมใช้กันเป็นอย่างมาก เป็นทางเลือกที่ดีสำหรับผู้ส่งที่ยังไม่คุ้นเคยกับผู้รับเป็นอย่างดี ส่วน

Sincerely,

จะนิยมใช้แบบกึ่งเป็นทางการ

 

::: Yours, Yours truly,

 

เป็นคำที่ก้ำกึ่งระหว่างแบบเป็นทางการ และแบบไม่เป็นทางการ ซึ่งขึ้นกับเนื้อหาในจดหมาย และผู้ที่ได้รับจดหมายว่าเขาเป็นใคร หากผู้รับเป็นเพื่อนสนิท และเนื้อหาในจดหมายออกแนวขำ ๆก็อาจใช้เป็นคำลงท้ายแบบไม่เป็นทางการได้ แต่โดยปกติแล้ว

Yours truly,

จะใช้เป็นคำลงท้ายแบบเป็นทางการ และ

Yours,

จะเป็นแบบกึ่งเป็นทางการ นิยมใช้กับจดหมายที่มีเนื้อหาที่ผู้ส่งต้องการเน้นข้อความในจดหมายเพื่อแสดงความจริงใจ ที่จะอุทิศตนเพื่อทำอะไรบางอย่างให้แก่ผู้รับจดหมาย

 

::: Thanks, Thank you, Thank so much

 

คำลงท้ายเพื่อแสดงความขอบคุณในจดหมาย ควรถูกเลือกใช้ให้เหมาะสม ผู้ส่งบางคนมักจะคุ้นเคยกับการจบข้อความในจดหมายทุกฉบับด้วยคำว่า

Thanks,

จนเคยชิน ทั้งที่บางครั้งข้อความในจดหมายไม่ได้มีเนื้อหาที่ต้องไปขอบคุณผู้รับเลย มันอาจสร้างความสับสนให้กับผู้รับได้ว่า มาขอบคุณเขาเพื่อ

?

หรือบางทีเป็นจดหมายเพื่อสั่งงาน ที่ไม่จำเป็นต้องไปขอบคุณผู้รับเสียก่อนที่เขาจะได้เริ่มต้นทำงาน การขอบคุณควรทำเป็นจดหมายมาในภายหลัง เมื่องานสำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดีแล้ว

 

::: Speak to you soon, Look forward to speaking with you soon, See you soon, Talk to you later,

 

เป็นการจบการสนทนาทางอีเมล หรือจดหมายที่ค่อนข้างมีประสิทธิภาพ เป็นการให้คำมั่นสัญญาว่าจะมีการพูดคุยกันอีก ตามมาในภายหลัง ซึ่งมักจะเป็นการพูดคุยกันแบบเผชิญหน้า ที่จะนำมาถึงซึ่งข้อสรุป ข้อตกลงที่สำคัญ ๆ และทำให้ทั้งสองฝ่ายบรรลุวัตถุประสงค์ได้อย่างที่ต้องการ ซึ่งโดยปกติแล้ว วลีข้างต้นจะถูกใช้เป็นคำลงท้ายในแบบเป็นทางการ

 

:::

ไม่มีคำลงท้าย

 

การไม่มีคำลงท้ายในอีเมล หรือจดหมายอื่น ดูเหมือนจะเป็นเรื่องผิดปกติ แต่บางกรณีก็อาจอนุโลม หรือยอมรับได้ เช่นในกรณีที่มีการถาม

ตอบบนอีเมล ซ้ำไป ซ้ำมาหลาย ๆครั้งในวันนั้น คุณอาจมีคำลงท้ายอีเมลเพียงฉบับแรก และในฉบับต่อ ๆมาอาจละคำลงท้าย และชื่อของคุณไว้ก็ได้ แต่พึงระมัดระวังกับผู้รับที่เราไม่คุ้นเคยกันดีพอ

 

::: Take care,

 

เป็นคำลงท้ายจดหมายที่มีความหมายใกล้เคียงกับ คำในกลุ่ม

Best

คือขออย่าให้มีอุปสรรคเกิดขึ้นกับคุณเลย เป็นคำลงท้ายที่เป็นแบบกึ่งเป็นทางการ ที่อย่างน้อยผู้ส่งก็ควรจะคุ้นเคยกับผู้รับในระดับหนึ่ง

 

::: Cheers,

 

คงเคยได้ยินกันในวงเหล้า ถ้าถูกนำมาใช้ในจดหมาย ก็ให้ความหมายทีดีต่อความรู้สึกไม่น้อยทีเดียว

Cheers,

เป็นคำเบา ๆฟังสบาย ๆมองโลกในแง่บวก เหมือนกับเรากำลังส่งความปรารถนาดีให้กับผู้ที่รับจดหมาย เป็นคำหนึ่งที่ควรเก็บไว้ใช้ในกรณีที่คุณคุ้นเคยกับผู้รับ หรือผู้อ่านระดับหนึ่ง ผมเป็นคนหนึ่งที่เลือกใช้คำนี้ในเว็บไซต์ภาษาอังกฤษของผมเอง

 

::: XOXO

 

เป็นสัญลักษณ์ ที่หมายถึง

Hugs and Kisses 

X

 เป็นสัญลักษณ์ของ การกอด

เป็นสัญลักษณ์ของ การจุมภิต

คำลงท้ายแบบนี้ เหมาะใช้กับสาว ๆเท่านั้น ห้ามนำไปใช้กับเจ้านายเป็นเด็ดขาด

::: Yours friend,

 

แม้ว่าเป็นคำง่าย ๆ ทื่อ ๆแต่นี่ก็เป็นอีกคำหนึ่งที่ผมเลือกใช้ในเว็บไซต์ที่เผยแพร่เป็นภาษาอังกฤษของผม คำนี้ฟังดูอบอุ่น จริงใจ และตอกย้ำ เหมือนกับจะเตือนว่าไม่ว่าจะเกิดอะไรขึ้นก็ตาม

ผม

….Yours friend

 

::: Warmly,

 

คำนี้ก็น่านำไปใช้ ฟังแล้วรู้สึกดี เหมือนมีสัมผัส อบอุ่น จริงใจ

 

::: Onward,

 

คล้ายจะบอกว่าให้ มุ่งไปข้างหน้า ก้าวต่อไป เป็นคำที่ทรงพลัง เข้มแข็ง ให้กำลังใจ น่าใช้เป็นอย่างยิ่ง

ก่อนจบบทความนี้มีเกร็ดเล็ก ๆฝากไว้อีกนิดหน่อยคือ คำลงท้ายจดหมาย ควรขึ้นต้นด้วยอักษรตัวใหญ่ และหลังคำ หรือวลีนั้นให้ใส่เครื่องหมายจุลภาค

,

ไว้ด้วยทุกครั้ง อย่าลืมเซ็นชื่อ หรือพิมพ์ชื่อ ถ้ามี

Logo

หรือ

Profile Picture

ก็ใส่ด้วยผู้รับจะได้รู้สึกว่า นี่แหละเป็นอีเมล ของเขาจริง ๆ

 

คำขึ้นต้น หรือคำทักทาย และคำลงท้าย ที่ใช้ในจดหมายภาษาอังกฤษ ถ้าเลือกได้อย่างเหมาะสม และถูกกาลเทศะแล้ว จะเป็นผลดีกับตัวคุณ และกิจการงานต่าง ๆได้เป็นอย่างดี สำหรับคืนนี้ ฝันดี ราตรีสวัสดิ์ครับผม

 

Your friend,

Warmly,

Onward,

 


6 ประโยคการทักทายภาษาอังกฤษง่ายๆ ใช้แทน How are you?


ติดตามช่องยูทูปครูพิมได้ที่👍🏻
https://www.youtube.com/channel/UCUFkoqdGCuT8X42LZ5C4llg?sub_confirmation=1
📍Teacher pim on sunday
เปิดTopicแรกในช่วงพิเศษที่มาเฉพาะวันอาทิตย์
กล่าวทักทายแบบพูดแล้วฝรั่งเก็ทและไม่น่าเบื่อ
Let’s get it (ไปลุยกันเลย)
“How’s it going?
What’s going on?
How’s everything ?
How are things?
“How’s your days?”
“How have you been”
“What’s new?”
หรือถ้าเราได้เจอเพื่อนที่ไม่ได้เห็นกันเป็นเวลานานแล้ว
สามารถทักทายได้ว่า Long time no see หรือ It’s been a while
แล้วตามด้วยประโยคคำถามตามด้านบนก็สามารถทำให้
คำถามของเราดูน่าสนใจมากขึ้น
หรือถ้าอยากdirect instagram หรือ Chat massage
ไปหาใครก็สามารถทักแบบเก๋ๆได้ว่า “Hello there”ก็ได้ค่ะ 💕

💥โปรจัดหนัก 5 คอร์ส สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม คลิ๊ก👇👇
https://line.me/R/ti/p/%40learningtree
💥สนใจเรียนต่อต่างประเทศสอบถามเพิ่มเติมได้ที่
https://www.facebook.com/learninguk
💥เรียนรู้ประโยคภาษาอังกฤษฟรีทุกวันได้ที่
www.instagram.com/pim_pimolwan

LearningTree เรียนต่อต่างประเทศ เรียนภาษาอังกฤษออนไลน์ครูพิม ฝึกพูดภาษาอังกฤษ ประโยคบอกเล่า
learningtree คอร์สภาษาอังกฤษออนไลน์ เรียนภาษาอังกฤษ เรียนภาษา เรียนต่อต่างประเทศ workandtravel ครูพิมสอนภาษาอังกฤษ

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

6 ประโยคการทักทายภาษาอังกฤษง่ายๆ ใช้แทน How are you?

10 ประโยคบอกรักเป็นภาษาอังกฤษ_10 Ways to Say \”I Love You.\”


10 ประโยคบอกรักเป็นภาษาอังกฤษ
10 Ways to Say \”I Love You.\”
.
ประโยคบอก \”ฉันรักเธอ\” ที่ป๊อปที่สุดในภาษาอังกฤษนั้นก็คงจะเป็นอะไรไปไม่ได้นอกจากประโยค \”I love you.\”
ที่หลายคนก็คงรู้จักดีอยู่แล้ว แต่ถ้าหากว่าคนพิเศษของคุณคนนั้นที่คุณแอบลุ้นอยู่ว่าเขาจะบอกรักคุณหรือไม่ เกิดมาบอกรักคุณด้วยประโยคอื่นๆ ล่ะ คุณจะเก็ทความในใจเขาไหม จะรู้ตัวไหมว่าแท้ที่จริงแล้ว คุณคือคนพิเศษสำหรับเขาเช่นกัน
.
หรือตัวคุณเองนั่นแหละที่อยากจะเอื้อนเอ่ยความในใจนี้ออกไป ลองเลือกประโยคที่โดนใจไปใช้กันค่ะ
.
หรือใครที่ยังโสดสนิทไม่มีวี่แววหรือแม้กระทั่งเงาของความรักผ่านเข้ามาเลยในตอนนี้ อย่างน้อยก็ประดับความรู้ไว้ เวลาดูหนังฟังเพลงดูซี่รีส์ฝรั่งก็จะอินมากขึ้นนะคะ
.
ดังนั้นแล้ว เพื่อไม่ให้พลาดโอกาสซึ้งๆ ทั้งหลายทั้งปวง วันนี้ครูยุมี 10 ประโยคบอกรักมาแบ่งปันกับชาวอิงลิช ไอ ไลค์กันค่ะ
เก่งภาษาอังกฤษไปกับเราที่
https://www.facebook.com/english.i.like/
http://www.englishilike.com/

10 ประโยคบอกรักเป็นภาษาอังกฤษ_10 Ways to Say \

ขอบใจเด้อ – ศาล สานศิลป์ : เซิ้ง|Music [Story จักรวาลไทบ้าน]【Official Video】


ขอบใจเด้อ ศาล สานศิลป์ | OST.ไทบ้านเดอะซีรีส์
ศิลปิน : ศาล สานศิลป์
เนื้อร้อง/ทำนอง : ปรีชา ปัดภัย
เรียบเรียง : จินนี่ภูไท
ควบคุมการร้อง : ดรีม ภูไทเร็คคอร์ด
ควบคุมการผลิต : เฮียป่อง ไทบ้านเดอะซีรีส์
_______________________________________________________
อำนวยการสร้าง : สิริพงศ์ อังคสกุลเกียรติ , อวิรุทธ์ อรรคบุตร
MV CREW
Executive Producer : สิริพงศ์ อังคสกุลเกียรติ
Producer : สุรศักดิ์ ป้องศร ,อวิรุทธ์ อรรคบุตร , ศุภณัฐ นามวงศ์
Director | ต้องเต ธิติ ศรีนวล
Firs Assistant Director | อนุสรณ์ ลิ้มฤทัย
Director of Photography | บุญโชค ศรีคำ
Focus Puller | ศุภคม กิตติกรวานิชณ์
First Assistant Camera | ณรงค์เกียรติ์ เวฬุวนารักษ์
Second Assistant Camera | จิรายุ คณะชาติ

Art Director | ณัฐพงษ์ ศรีพรม
First Assistant Art Director | อ๊อฟ โลกเอียง
PM / Costume | อนุสรณ์ ลิ้มฤทัย
Editor | ต้องเต ธิติ ศรีนวล \\ มาร์ค อโลน \\ ณรงค์เกียรติ์ เวฬุวนารักษ์
Colorist | ณรงค์เกียรติ์ เวฬุวนารักษ์

ช่องทางติดตาม
Facebook:
https://www.facebook.com/ThiBaanTheSeries
https://www.facebook.com/SerngMusic
เว็บไซต์:
https://www.serngmusic.co.th
https://www.thibaantheseries.com
ข่าวไทบ้านสดก่อนใคร:
https://www.thibaans.com
ติดต่องานโปรดักชั่น,ลิขสิทธฺ์เพลง,งานนักแสดงในสังกัด
บริษัท เซิ้ง โปรดักชั่น แอนด์ ออแกไนเซอร์ จำกัด
โทร 0638500150 , 045960360
เว็บไซต์: https://www.serngproduction.co.th
บริษัท เซิ้ง มิวสิก จำกัด
เว็บไซต์: https://www.serngmusic.co.th
โทร 0832463936 (ผู้จัดการ เซิ้ง มิวสิค)
Email : [email protected]
Email : [email protected]
ติดตามน้องๆ
Fb : natthakarn pinatha | นางเอกMV น้องแก้ม
Fb : เฟิร์ส ธนาดล | พระเอกMv น้องเฟิร์ส
ติดต่องานแสดง 0638500150

เซิ้งโปรดักชั่น เซิ้งมิวสิค ThibaanChannel

ขอบใจเด้อ - ศาล สานศิลป์ : เซิ้ง|Music [Story จักรวาลไทบ้าน]【Official Video】

#อย่าหาว่าน้าสอน \”Friend with benefit\” = เพื่อนที่เอากันได้ !!!


เพื่อนกันก็มันส์ไปอีกแบบ !!!
หลายๆ คนอาจจะไม่รู้จักความสัมพันธ์รูปแบบหนึ่งที่เรียกกันว่า \”Friend with benefit\”
อธิบายง่ายๆ เลยคือ เป็นเพื่อนกัน แต่เอากันได้นั่นแหละ !!!
ฟังดูน่าสนุกนะ แต่มันไม่ได้สวยงามเหมือนที่คิดหรอก !!! เพราะอะไร…ไปดู !!!
ปล.ใครคิดจะมีความสัมพันธ์รูปแบบนี้ ก็อย่าลืมป้องกัน และระวังเรื่องโรคติดต่อด้วยนะจ๊ะ อย่าหาว่าพี่ไม่เตือน !!!
ชม อย่าหาว่าน้าสอน EP.02 แบบเต็มๆ ได้ที่ https://youtu.be/iNESOwNZzeY

#อย่าหาว่าน้าสอน \

วิธีพูดทักทายเป็นภาษาอังกฤษ ที่ไม่ได้มีแต่ Hello | Tina Academy Ep.246


♡ดูตัวอย่างหนังสือของติน่า https://www.tinaacademy.com/books
♡ติดต่อซื้อหนังสือ @linetina (มี @ ด้วย)
♡ Subscribe จะได้ไม่พลาดคลิปทุกๆสัปดาห์
https://www.youtube.com/tinathanchannel/
♡ Instagram: https://www.instagram.com/tinathanchannel
♡ Facebook: https://www.facebook.com/tinathanchannel
♡ Line ID: @linetina https://line.me/R/ti/p/%40hxr4999x

วิธีพูดทักทายเป็นภาษาอังกฤษ ที่ไม่ได้มีแต่ Hello | Tina Academy Ep.246

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆLEARN FOREIGN LANGUAGE

ขอบคุณมากสำหรับการดูหัวข้อโพสต์ เรา สามารถ เป็น เพื่อน กัน ได้ ภาษา อังกฤษ

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *