Skip to content
Home » [NEW] คู่มือครู รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 2-Flip eBook Pages 1 – 50 | เนื้อหา วิทยาศาสตร์ ม 1 ส สว ท – NATAVIGUIDES

[NEW] คู่มือครู รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 2-Flip eBook Pages 1 – 50 | เนื้อหา วิทยาศาสตร์ ม 1 ส สว ท – NATAVIGUIDES

เนื้อหา วิทยาศาสตร์ ม 1 ส สว ท: นี่คือโพสต์ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อนี้

คู่มือครูรายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์
และเทคโนโลยี

ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๖ เล่ม ๒

ตามมาตรฐานการเรยี นร้แู ละตวั ชี้วดั กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี

(ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

จัดทำโดย
สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

กระทรวงศึกษาธกิ าร

คำชีแ้ จง

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ได้จัดทำตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้
แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โดยมีจุดเน้นเพื่อต้องการพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้
ความสามารถที่ทัดเทียมกับนานาชาติ ได้เรียนรู้วิทยาศาสตร์ที่เชื่อมโยงความรู้กับกระบวนการในการ
สืบเสาะหาความรู้และการแก้ปัญหาที่หลากหลาย มีการทำกิจกรรมด้วยการลงมือปฏิบัติเพื่อให้ผู้เรียนได้ใช้
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทักษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑ ซึ่งในปีการศึกษา ๒๕๖๑ เป็นต้นไปน้ี
โรงเรียนจะต้องใช้หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)
สสวท. จึงได้จัดทำหนังสอื เรยี นทีเ่ ป็นไปตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วดั ของหลักสูตรเพื่อให้โรงเรียนได้ใช้
สำหรับจดั การเรยี นการสอนในช้นั เรียน

คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ เล่ม ๒ กลุ่มสาระ
การเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเล่มนี้ สสวท. ได้พัฒนาขึ้น เพื่อนำไปใช้ประกอบหนังสือเรียนรายวิชา
พ้นื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๖ เลม่ ๒ โดยภายในคมู่ ือครปู ระกอบด้วยผังมโนทัศน์
ตัวชี้วัด ข้อแนะนำการใช้คู่มือครู ตารางแสดงความสอดคล้องระหว่างเนื้อหาและกิจกรรมในหนังสือเรียนกับ
มาตรฐานการเรียนรูแ้ ละตวั ชว้ี ัด กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ตลอดจนแนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ที่มุ่งเน้นการพัฒนาทักษะรอบด้าน ทั้งการอ่าน การสำรวจตรวจสอบ การฝึกปฏิบัติ การปฏิบัติการทดลอง
การสืบค้นข้อมูล และการอภิปราย โดยมีเป้าหมายให้นักเรียนพัฒนาทั้งด้านความรู้ ทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์ ทักษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑ จิตวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ทักษะการคิด
การอ่าน การสื่อสาร การแก้ปัญหา ตลอดจนการนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันอย่างมีคุณธรรมและค่านิยม
ทเ่ี หมาะสม สามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมแห่งการเปล่ียนแปลงในศตวรรษที่ ๒๑ อย่างมีความสุข ในการจัดทำ
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ เล่ม ๒ กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเล่มนี้ ได้รับความร่วมมืออย่างดียิ่งจากคณาจารย์ ผู้ทรงคุณวุฒิ นักวิชาการ และ
ครูผู้สอน จากสถาบนั การศึกษาตา่ ง ๆ จึงขอขอบคณุ ไว้ ณ ทนี่ ี้

สสวท. หวังเป็นอย่างยิ่งว่าคู่มอื ครูรายวชิ าพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๖
เล่ม ๒ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเล่มนี้ จะเป็นประโยชน์แก่ครูและผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย
ที่จะช่วยใหก้ ารจัดการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์มีประสิทธิภาพและประสิทธผิ ล หากมีขอ้ เสนอแนะใดท่ีจะทำให้
ค่มู ือครูเล่มนี้สมบูรณย์ ิ่งขนึ้ โปรดแจง้ สสวท. ทราบด้วย จกั ขอบคุณยงิ่

(ศาสตราจารย์ชูกิจ ลิมปิจำนงค์)
ผอู้ ำนวยการสถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

สารบัญกระทรวงศกึ ษาธกิ าร

คำชแ้ี จง หนา้
เป้าหมายของการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์
คณุ ภาพของผู้เรยี นวิทยาศาสตร์ เมอ่ื จบชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 6 ก
ทักษะท่สี ำคัญในการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ข
ผงั มโนทัศน์ (concept map) รายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 เล่ม 2 ง
ตัวช้วี ดั สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 2 ซ
ข้อแนะนำการใชค้ ู่มือครู ฌ
การจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ในระดับประถมศึกษา ฐ
การจัดการเรียนการสอนที่เน้นการสืบเสาะหาความรทู้ างวทิ ยาศาสตร์ ป
การจัดการเรียนการสอนที่สอดคล้องกับธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ ป
และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ฝ
การวดั ผลและประเมินผลการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์
ตารางแสดงความสอดคล้องระหวา่ งเนื้อหาและกจิ กรรม ระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 เลม่ 2 ฟ
กบั ตัวชีว้ ัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ย
หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551
รายการวัสดอุ ุปกรณว์ ิทยาศาสตร์ ป.6 เล่ม 2 ศ
หน่วยที่ 4 ปรากฏการณ์ของโลกและภัยธรรมชาติ 1
1
ภาพรวมการจดั การเรยี นรู้ประจำหน่วยท่ี 4 ปรากฏการณข์ องโลกและภัยธรรมชาติ 7
บทท่ี 1 ลมบก ลมทะเล และมรสุม 10
บทนี้เร่ิมต้นอย่างไร 16
เรอื่ งท่ี 1 การเกดิ ลมบก ลมทะเล และมรสุม 21
43
กิจกรรมท่ี 1.1 ลมบก ลมทะเลเป็นอย่างไร 66
กิจกรรมที่ 1.2 การเกิดมรสุมเกีย่ วขอ้ งกับฤดูของประเทศไทยอย่างไร 68
กจิ กรรมทา้ ยบทที่ 1 ลมบก ลมทะเล และมรสมุ
แนวคำตอบในแบบฝึกหัดท้ายบท

สารบัญ

บทที่ 2 ปรากฏการณ์เรอื นกระจก หนา้
บทนีเ้ ร่ิมต้นอย่างไร 71
เร่ืองที่ 1 ปรากฏการณเ์ รือนกระจกและภาวะโลกร้อน 74
79
กจิ กรรมที่ 1.1 ปรากฏการณ์เรอื นกระจกของโลกเปน็ อย่างไร 84
กิจกรรมที่ 1.2 เราจะลดปริมาณแกส๊ เรือนกระจกไดอ้ ย่างไร 106
กิจกรรมท้ายบทท่ี 2 ปรากฏการณเ์ รือนกระจก 124
แนวคำตอบในแบบฝึกหัดทา้ ยบท 126
บทที่ 3 ภัยธรรมชาติ 129
บทนี้เรมิ่ ต้นอย่างไร 132
เรอ่ื งที่ 1 รจู้ กั ภัยธรรมชาติ 137
กจิ กรรมท่ี 1 ปฏบิ ตั ิตนอย่างไรให้ปลอดภยั จากภัยธรรมชาติ 142
กิจกรรมทา้ ยบทท่ี 3 ภัยธรรมชาติ 162
แนวคำตอบในแบบฝึกหัดท้ายบท 165
หน่วยที่ 5 เงา อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศ 167
ภาพรวมการจัดการเรยี นรปู้ ระจำหน่วยท่ี 5 เงา อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศ 167
บทท่ี 1 เงาและอปุ ราคา 169
บทนเ้ี ร่ิมตน้ อย่างไร 172
เรอ่ื งที่ 1 การเกิดเงา 178
กิจกรรมท่ี 1 เงาเกดิ ขึน้ ได้อย่างไรและมลี ักษณะอย่างไร 182
เรอ่ื งที่ 2 การเกดิ สุรยิ ุปราคาและจันทรปุ ราคา 198
กจิ กรรมท่ี 2.1 มองเหน็ ดวงจันทรบ์ งั ดวงอาทติ ยไ์ ด้อย่างไร 203
กิจกรรมที่ 2.2 สรุ ิยุปราคาเกิดขึน้ ได้อยา่ งไร 218
กิจกรรมท่ี 2.3 จนั ทรปุ ราคาเกดิ ขน้ึ ไดอ้ ย่างไร 233
กิจกรรมท้ายบทท่ี 1 เงาและอุปราคา 249
แนวคำตอบในแบบฝกึ หดั ทา้ ยบท 252

บทที่ 2 เทคโนโลยีอวกาศ สารบัญ
บทน้ีเรมิ่ ตน้ อย่างไร
เร่อื งท่ี 1 รู้จกั เทคโนโลยอี วกาศ หนา้
257
กจิ กรรมท่ี 1.1 เทคโนโลยีอวกาศมีการพัฒนาอย่างไร 260
กจิ กรรมท่ี 1.2 เทคโนโลยีอวกาศมีประโยชนอ์ ยา่ งไร 264
กจิ กรรมท้ายบทท่ี 2 เทคโนโลยีอวกาศ 270
แนวคำตอบในแบบฝกึ หดั ทา้ ยบท 284
หน่วยท่ี 6 แรงไฟฟา้ และพลังงานไฟฟ้า 298
ภาพรวมการจัดการเรยี นรปู้ ระจำหนว่ ยท่ี 6 แรงไฟฟ้าและพลังงานไฟฟ้า 301
บทท่ี 1 แรงไฟฟ้า 303
บทน้ีเร่ิมต้นอย่างไร 303
เรือ่ งที่ 1 การเกิดและผลของแรงไฟฟ้า 305
กิจกรรมท่ี 1.1 แรงไฟฟ้าเกิดขึ้นได้อยา่ งไร 308
กจิ กรรมท่ี 1.2 ผลของแรงไฟฟ้าเป็นอย่างไร 312
กจิ กรรมท้ายบทที่ 1 แรงไฟฟา้ 316
แนวคำตอบในแบบฝึกหดั ทา้ ยบท 329
346
บทที่ 2 วงจรไฟฟา้ อย่างง่าย 348
บทน้ีเร่ิมต้นอย่างไร
เร่ืองที่ 1 วงจรไฟฟา้ ใกลต้ ัว 351
354
กจิ กรรมท่ี 1 ต่อวงจรไฟฟา้ อยา่ งงา่ ยได้อยา่ งไร 358
เรื่องที่ 2 การตอ่ เซลล์ไฟฟ้า 362
376
กิจกรรมท่ี 2.1 เซลล์ไฟฟา้ ต่อกนั อย่างไร
กจิ กรรมที่ 2.2 เขยี นแผนภาพวงจรไฟฟา้ ได้อยา่ งไร 381
เร่อื งท่ี 3 การต่ออุปกรณไ์ ฟฟา้ ในบ้าน 403
กิจกรรมที่ 3 หลอดไฟฟา้ ต่อกนั อยา่ งไร 415
419

กิจกรรมท้ายบทที่ 2 วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย สารบญั
แนวคำตอบในแบบฝึกหัดท้ายบท
แนวคำตอบในแบบทดสอบท้ายเลม่ หน้า
บรรณานกุ รม 436
คณะทำงาน 438
442
455
457

ก คู่มือครรู ายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 2
เป้าหมายของการจัดการเรยี นการสอนวิทยาศาสตร์

วิทยาศาสตร์เป็นเรื่องของการเรียนรู้เกี่ยวกับธรรมชาติ โดยมนุษย์ใช้กระบวนการสังเกต สำรวจ
ตรวจสอบ และการทดลองเกี่ยวกับปรากฏการณ์ทางธรรมชาติแล้วนำผลที่ได้มาจัดระบบหลักการ แนวคิด
และทฤษฎี ดังนั้นการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์จงึ มุ่งเน้นให้นักเรียนได้เรียนรู้และค้นพบด้วยตนเองมากที่สดุ
นั่นคอื ใหเ้ กิดการเรียนรู้ทัง้ กระบวนการและองค์ความรู้

การจดั การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ในสถานศกึ ษามีเปา้ หมายสำคญั ดงั นี้
1. เพื่อให้เข้าใจแนวคิด หลักการ ทฤษฎี กฎและความรู้พน้ื ฐานของวิทยาศาสตร์
2. เพอ่ื ใหเ้ ข้าใจขอบเขตธรรมชาติของวทิ ยาศาสตร์ และขอ้ จำกดั ของวทิ ยาศาสตร์
3. เพ่อื ใหม้ ีทักษะทีส่ ำคัญในการสืบเสาะหาความรูแ้ ละพัฒนาเทคโนโลยี
4. เพื่อให้ตระหนักถึงการมีผลกระทบซึ่งกันและกันระหว่างวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี มวลมนุษย์ และ

สง่ิ แวดล้อม
5. เพื่อนำความรู้ แนวคิดและทักษะต่าง ๆ ทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อ

สงั คมและการดำรงชวี ิต
6. เพื่อพัฒนากระบวนการคิดและจินตนาการ ความสามารถในการแก้ปัญหาและการจัดการ ทักษะใน

การสื่อสาร และความสามารถในการประเมนิ และตดั สินใจ
7. เพอื่ ให้เป็นผู้ทม่ี ีจติ วิทยาศาสตร์ มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และค่านยิ มในการใชว้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

อยา่ งสร้างสรรค์

⎯ สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คูม่ อื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เลม่ 1 ข

คณุ ภาพของนกั เรียนวิทยาศาสตร์ เมอ่ื จบชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 6

นักเรียนที่เรียนจบชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ควรมีความรู้ ความคิด ทักษะกระบวนการ และจิตวิทยาศาสตร์
ดงั น้ี

1. เข้าใจโครงสร้าง ลักษณะเฉพาะและการปรับตัวของสิ่งมีชีวิต รวมทั้งความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตใน
แหล่งท่อี ยู่ การทำหน้าทขี่ องสว่ นตา่ ง ๆ ของพชื และการทำงานของระบบย่อยอาหารของมนุษย์

2. เข้าใจสมบัติและการจำแนกกลุ่มของวัสดุ สถานะและการเปลี่ยนสถานะของสสาร การละลาย
การเปลีย่ นแปลงทางเคมี การเปลีย่ นแปลงที่ผนั กลับได้และผนั กลับไมไ่ ด้ และการแยกสารอย่างง่าย

3. เข้าใจลักษณะของแรงโน้มถ่วงของโลก แรงลัพธ์ แรงเสียดทาน แรงไฟฟ้าและผลของแรงต่างๆ ผลที่
เกิดจากแรงกระทำต่อวัตถุ ความดัน หลักการที่มีต่อวัตถุ วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย ปรากฏการณ์เบื้องต้น
ของเสยี ง และแสง

4. เขา้ ใจปรากฏการณ์การขน้ึ และตก รวมถึงการเปลี่ยนแปลงรปู ร่างปรากฏของดวงจันทร์ องค์ประกอบ
ของระบบสุริยะ คาบการโคจรของดาวเคราะห์ ความแตกต่างของดาวเคราะห์และดาวฤกษ์ การขึ้น
และตกของกลุ่มดาวฤกษ์ การใช้แผนที่ดาว การเกิดอุปราคา พัฒนาการและประโยชน์ของเทคโนโลยี
อวกาศ

5. เข้าใจลักษณะของแหล่งน้ำ วัฏจักรน้ำ กระบวนการเกิดเมฆ หมอก น้ำค้าง น้ำค้างแข็ง หยาดน้ำฟ้า
กระบวนการเกิดหิน วัฏจักรหิน การใช้ประโยชน์หินและแร่ การเกิดซากดึกดำบรรพ์ การเกิดลมบก
ลมทะเล มรสุม ลักษณะและผลกระทบของภัยธรรมชาติ ธรณีพิบัติภัย การเกิดและผลกระทบของ
ปรากฏการณ์เรือนกระจก

6. คน้ หาข้อมลู อย่างมีประสิทธภิ าพและประเมินความน่าเชื่อถือ ตัดสินใจเลือกขอ้ มูลใช้เหตุผลเชิงตรรกะ
ในการแก้ปัญหา ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการทำงานร่วมกัน เข้าใจสิทธิและหน้าท่ี
ของตน เคารพสทิ ธิของผูอ้ ่นื

7. ตั้งคำถามหรือกำหนดปัญหาเกี่ยวกับสิ่งที่จะเรียนรู้ตามที่กำหนดให้หรือตามความสนใจ คาดคะเน
คำตอบหลายแนวทาง สร้างสมมติฐานที่สอดคล้องกับคำถามหรือปัญหาที่จะสำรวจตรวจสอบ
วางแผนและสำรวจตรวจสอบโดยใชเ้ ครื่องมือ อุปกรณ์ และเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม ในการ
เกบ็ รวบรวมขอ้ มูลทงั้ เชงิ ปรมิ าณและคณุ ภาพ

8. วิเคราะหข์ อ้ มูล ลงความเหน็ และสรปุ ความสัมพันธ์ของข้อมลู ที่มาจากการสำรวจตรวจสอบในรูปแบบ
ที่เหมาะสม เพอ่ื ส่อื สารความรูจ้ ากผลการสำรวจตรวจสอบไดอ้ ย่างมเี หตผุ ลและหลักฐานอา้ งอิง

9. แสดงถึงความสนใจ มุ่งมั่น ในสิ่งที่จะเรียนรู้ มีความคิดสร้างสรรค์เกี่ยวกับเรื่องที่จะศึกษาตามความ
สนใจของตนเอง แสดงความคิดเห็นของตนเอง ยอมรับในข้อมูลที่มีหลักฐานอ้างอิง และรับฟังความ
คดิ เหน็ ผู้อืน่

10. แสดงความรับผิดชอบดว้ ยการทำงานท่ีได้รับมอบหมายอย่างมุ่งมัน่ รอบคอบ ประหยัด ซอ่ื สัตย์ จนงาน
ลุลว่ งเปน็ ผลสำเร็จ และทำงานรว่ มกับผอู้ ื่นอย่างสร้างสรรค์

สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

ค คมู่ ือครูรายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 2

11. ตระหนักในคุณค่าของความรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ใชค้ วามรูแ้ ละกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ในการดำรงชีวิต แสดงความช่ืนชม ยกย่อง และเคารพสิทธิในผลงานของผู้คิดค้นและศึกษาหาความรู้
เพ่ิมเตมิ ทำโครงงานหรือช้นิ งานตามทีก่ ำหนดให้หรอื ตามความสนใจ

12. แสดงถึงความซาบซึ้ง ห่วงใย แสดงพฤติกรรมเกี่ยวกับการใช้ การดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติและ
ส่ิงแวดลอ้ มอยา่ งรคู้ ุณค่า

⎯ สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คู่มือครูรายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 1 ง

ทักษะทสี่ ำคัญในการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์

ทักษะสำคญั ท่ีครผู สู้ อนจำเป็นต้องพัฒนาให้เกดิ ข้นึ กับนักเรยี นเมื่อมีการจดั การเรยี นรู้วิทยาศาสตร์
เชน่ ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ทกั ษะแหง่ ศตวรรษที่ 21

ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ (Science Process Skills)

การเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์จำเป็นต้องใช้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์เพื่อนำไปสู่
การสืบเสาะค้นหาผ่านการสังเกต ทดลอง สร้างแบบจำลอง และวิธีการอื่น ๆ เพื่อนำข้อมูล สารสนเทศและ
หลักฐานเชิงประจักษ์มาสร้างคำอธิบายเกี่ยวกับแนวคิดหรือองค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ทักษะกระบวนการ
ทางวทิ ยาศาสตร์ ประกอบดว้ ย

ทักษะการสังเกต (Observing) เป็นความสามารถในการใชป้ ระสาทสมั ผัสอย่างใดอย่างหนง่ึ หรือ
หลายอย่างสำรวจวัตถุหรือปรากฏการณ์ต่าง ๆ ในธรรมชาติหรือจากการทดลอง โดยไม่ลงความคิดเห็นของ
ผสู้ ังเกต ประสาทสมั ผัสทงั้ 5 ได้แก่ การดู การฟงั เสียง การดมกลิ่น การชมิ รส และการสมั ผัส

ทักษะการวัด (Measuring) เป็นความสามารถในการเลือกใช้เครื่องมือในการวัดปริมาณต่าง ๆ
ได้อย่างเหมาะสม รวมถึงความสามารถในการหาปริมาณของสิ่งต่าง ๆ จากเครื่องมือที่เลือกใช้ออกมาเป็น
ตัวเลขได้ถกู ตอ้ งและรวดเร็ว พรอ้ มระบหุ น่วยของการวดั ได้อยา่ งถกู ต้อง

ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล (Inferring) เป็นความสามารถในการคาดการณ์อย่างมี

หลักการเกี่ยวกับเหตุการณ์หรือปรากฏการณ์ โดยใช้ข้อมูล (Data) หรือสารสนเทศ (Information) ที่เคย

เก็บรวบรวมไวใ้ นอดตี

ทักษะการจำแนกประเภท (Classifying) เป็นความสามารถในการแยกแยะ จดั พวกหรือจัดกลุ่ม
สิ่งต่าง ๆ ที่สนใจ เช่น วัตถุ สิ่งมีชีวิต ดาว และเทหวัตถุต่าง ๆ หรือปรากฏการณ์ที่ต้องการศึกษาออกเป็น
หมวดหมู่ นอกจากนี้ยังหมายถึงความสามารถในการเลือกและระบุเกณฑ์หรือลักษณะร่วมลักษณะใดลักษณะ
หนง่ึ ของส่ิงตา่ ง ๆ ทต่ี ้องการจำแนก

ทักษะการหาความสัมพันธ์ของสเปซกับเวลา (Relationship of Space and Time) สเปซ
คือ พื้นที่ที่วัตถุครอบครอง ในที่นี้อาจเป็นตำแหน่ง รูปร่าง รูปทรงของวัตถุ สิ่งเหล่านี้อาจมีความสัมพันธ์กัน
ดังน้ี

การหาความสัมพันธร์ ะหวา่ งสเปซกับสเปซ เป็นความสามารถในการหาความเกี่ยวข้อง
สัมพันธ์กันระหว่างพื้นที่ที่วัตถุต่างๆ
(Relationship between Space and Space) ครอบครอง

สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

จ คูม่ อื ครรู ายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 2

การหาความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งสเปซกบั เวลา เป็นความสามารถในการหาความเกี่ยวข้อง
(Relationship between Space and Time) สัมพันธ์กันระหว่างพื้นที่ที่วัตถุครอบครอง

เมอ่ื เวลาผา่ นไป
ทักษะการใช้จำนวน (Using Number) เป็นความสามารถในการใช้ความรู้สึกเชิงจำนวน และ
การคำนวณเพอื่ บรรยายหรอื ระบรุ ายละเอยี ดเชงิ ปริมาณของสิ่งทีส่ ังเกตหรือทดลอง

ทักษะการจัดกระทำและสื่อความหมายข้อมูล (Organizing and Communicating Data)
เป็นความสามารถในการนำผลการสังเกต การวัด การทดลอง จากแหล่งต่าง ๆ มาจัดกระทำให้อยู่ในรูปแบบที่
มีความหมายหรอื มคี วามสมั พนั ธก์ ันมากข้ึน จนง่ายตอ่ การทำความเข้าใจหรอื เห็นแบบรูปของข้อมลู นอกจากนี้
ยังรวมถึงความสามารถในการนำข้อมูลมาจัดทำในรูปแบบต่าง ๆ เช่น ตาราง แผนภูมิ แผนภาพ วงจร กราฟ
สมการ การเขียนบรรยาย เพ่อื สือ่ สารให้ผูอ้ นื่ เข้าใจความหมายของข้อมลู มากขึ้น

ทักษะการพยากรณ์ (Predicting) เป็นความสามารถในบอกผลลัพธ์ของปรากฏการณ์ สถานการณ์
การสังเกต การทดลองท่ีได้จากการสังเกตแบบรูปของหลักฐาน (Pattern of Evidence) การพยากรณ์ที่
แม่นยำจึงเป็นผลมาจากการสังเกตที่รอบคอบ การวัดที่ถูกต้อง การบันทึก และการจัดกระทำกับข้อมูลอย่าง
เหมาะสม

ทักษะการตั้งสมมติฐาน (Formulating Hypotheses) เป็นความสามารถในการคิดหาคำตอบ
ล่วงหน้าก่อนดำเนินการทดลอง โดยอาศัยการสังเกต ความรู้ ประสบการณ์เดิมเป็นพื้นฐานคำตอบที่คิด
ล่วงหน้าที่ยังไม่รูม้ าก่อน หรือยังไม่เป็นหลกั การ กฎ หรือ ทฤษฎีมาก่อน การตั้งสมมติฐานหรือคำตอบที่คิดไว้
ล่วงหน้ามักกล่าวไว้เป็นข้อความที่บอกความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรต้นกับตัวแปรตาม ซึ่งอาจเป็นไปตามที่
คาดการณไ์ ว้หรือไมก่ ไ็ ด้

ทักษะการกำหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ (Defining Operationally) เป็นความสามารถในการ
กำหนดความหมายและขอบเขตของสิง่ ต่าง ๆ ท่อี ยูใ่ นสมมติฐานของการทดลอง หรอื ที่เก่ยี วข้องกบั การทดลอง
ให้เข้าใจตรงกนั และสามารถสงั เกตหรือวัดได้

ทักษะการกำหนดและควบคุมตัวแปร (Controlling Variables) เป็นความสามารถใน
การกำหนดตัวแปรต่าง ๆ ทั้งตัวแปรต้น ตัวแปรตาม และตัวแปรที่ต้องควบคุมให้คงที่ ให้สอดคล้องกับ
สมมติฐานของการทดลอง รวมถึงความสามารถในการระบุและควบคุมตัวแปรอื่น ๆ นอกเหนือจากตัวแปรต้น
ซง่ึ อาจสง่ ผลตอ่ ผลการทดลอง หากไม่ควบคุมให้เหมือนกันหรือเท่ากัน ตวั แปรทเี่ ก่ียวขอ้ งกับการทดลอง ได้แก่
ตวั แปรตน้ ตวั แปรตาม และตัวแปรท่ตี ้องควบคุมใหค้ งที่ ซึง่ ลว้ นเป็นปัจจัยทีเ่ ก่ียวข้องกบั การทดลอง ดงั นี้

ตัวแปรตน้ (Independent Variable) หมายถงึ สง่ิ ทเี่ ปน็ ต้นเหตทุ ำให้เกดิ การเปลีย่ นแปลง จงึ ต้อง
จัดสถานการณใ์ ห้มสี ง่ิ นี้แตกต่างกนั

ตัวแปรตาม (Dependent Variable) หมายถึง สิ่งที่เป็นผลจากการจัดสถานการณ์บางอย่างให้
แตกตา่ งกัน และเราตอ้ งสงั เกต วัด หรือติดตามดู

⎯ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คูม่ อื ครรู ายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 1 ฉ

ตัวแปรที่ต้องควบคุมให้คงที่ (Controlled Variable) หมายถึง สิ่งต่าง ๆ ที่อาจส่งผลต่อการจัด
สถานการณ์ จึงต้องจดั สิง่ เหล่าน้ีใหเ้ หมือนกันหรือเท่ากัน เพื่อให้มัน่ ใจว่าผลจากการจัดสถานการณ์เกิดจากตวั
แปรต้นเท่านัน้

ทักษะการทดลอง (Experimenting) การทดลองประกอบด้วย 3 ขั้นตอน คือ การออกแบบ
การทดลอง การปฏิบัติการทดลอง และการบันทึกผลการทดลอง ทักษะการทดลองจึงเป็นความสามารถใน
การออกแบบและวางแผนการทดลองได้อย่างรอบคอบ และสอดคล้องกับคำถามการทดลองและสมมติฐาน
รวมถึงความสามารถในการดำเนินการทดลองได้ตามแผน และความสามารถในการบันทึกผลการทดลองได้
ละเอียด ครบถว้ น และเทย่ี งตรง

ทักษะการตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป (Interpreting and Making Conclusion) เป็น
ความสามารถ ในการแปลความหมาย หรือการบรรยาย ลักษณะและสมบัติของข้อมูลที่มีอยู่ ตลอดจน
ความสามารถในการสรุปความสัมพนั ธข์ องขอ้ มลู ทั้งหมด

ทกั ษะการสรา้ งแบบจำลอง (Formulating Models) เป็นความสามารถในการสร้างและใช้ส่ิงที่
ทำขึ้นมาเพื่อเลียนแบบหรืออธิบายปรากฏการณ์ที่ศึกษาหรือสนใจ เช่น กราฟ สมการ แผนภูมิ รูปภาพ
ภาพเคลื่อนไหว สามารถประเมินแบบจำลองและปรับปรุงแบบจำลองที่สร้างขึ้น รวมถึงความสามารถในการ
นำเสนอขอ้ มูล แนวคิด ความคดิ รวบยอดเพ่อื ใหผ้ ู้อ่นื เขา้ ใจในรปู ของแบบจำลองแบบต่าง ๆ

ทกั ษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 (21st Century Skills)

ราชบัณฑิตยสถานได้ระบุทักษะที่จำเป็นแห่งศตวรรษที่ 21 ซึ่งสอดคล้องกับสมรรถนะที่ควรมีในพลเมือง
ยุคใหม่รวม 7 ด้าน (สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ, 2558; ราชบัณฑิตยสถาน, 2557)
ในระดับประถมศกึ ษาจะเน้นให้ครผู สู้ อนสง่ เสริมให้นักเรยี นมีทักษะ ดังต่อไปน้ี

การคิดอย่างมีวิจารณญาณ (Critical Thinking) หมายถึง การคิดโดยใช้เหตุผลที่หลากหลาย
เหมาะสมกับสถานการณ์ มีการคิดอย่างเป็นระบบ วิเคราะห์ ประเมินหลักฐานและข้อคิดเห็นด้วยมุมมองท่ี
หลากหลาย สังเคราะห์ แปลความหมาย และจัดทำข้อสรุป สะท้อนความคิดอย่างมีวิจารณญาณโดยใช้
ประสบการณแ์ ละกระบวนการเรยี นรู้

การแก้ปัญหา (Problem Solving) หมายถึง ความสามารถในการแก้ปัญหาที่ไม่คุ้นเคย หรือ
ปญั หาใหม่ โดยอาจใช้ความรู้ ทกั ษะ วิธกี ารและประสบการณ์ทีเ่ คยรมู้ าแล้ว หรอื การสืบเสาะหาความรู้ วิธีการ
ใหม่มาใช้แก้ปัญหา นอกจากนี้ยังรวมถึงการซกั ถามเพื่อทำความเขา้ ใจมุมมองที่แตกต่าง หลากหลายเพือ่ ใหไ้ ด้
วธิ แี กป้ ัญหาท่ดี ียง่ิ ขึ้น

การสื่อสาร (Communication) หมายถึง ความสามารถในการสื่อสารได้อย่างชัดเจน เชื่อมโยง
เรียบเรียงความคิดเเละมุมมองต่าง ๆ แล้วสื่อสารโดยการใช้คําพูด หรือการเขียน เพื่อให้ผู้อื่นเข้าใจได้
หลากหลายรูปแบบและวัตถุประสงค์ นอกจากนี้ยังรวมไปถึงการฟังอย่างมีประสิทธิภาพเพื่อให้เข้าใจ
ความหมายของผูส้ ่งสาร

สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

ช คู่มือครรู ายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 2

ความร่วมมอื (Collaboration) หมายถงึ ความสามารถในการทำงานร่วมกบั คนกลุ่มตา่ ง ๆ ที่
หลากหลายอย่างมีประสิทธิภาพและให้เกียรติ มีความยืดหยุ่นและยินดีที่จะประนีประนอม เพื่อให้บรรลุ
เปา้ หมายการทำงาน พร้อมท้งั ยอมรับและแสดงความรับผดิ ชอบต่องานท่ีทำร่วมกัน และเห็นคุณคา่ ของผลงาน
ที่พฒั นาขน้ึ จากสมาชิกแตล่ ะคนในทีม

การสร้างสรรค์ (Creativity) หมายถึง การใช้เทคนิคที่หลากหลายในการสร้างสรรค์แนวคิด เช่น
การระดมพลังสมอง รวมถึงความสามารถในการพัฒนาต่อยอดแนวคิดเดิม หรือได้แนวคิดใหม่ และ
ความสามารถในการกล่นั กรอง ทบทวน วิเคราะห์ และประเมินแนวคิด เพ่ือปรับปรุงให้ได้แนวคดิ ที่จะส่งผลให้
ความพยายามอยา่ งสรา้ งสรรคน์ ี้เปน็ ไปไดม้ ากท่ีสุด

การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communication Technology
(ICT)) หมายถึง ความสามารถในการการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อเป็นเครื่องมือสืบค้น
จัดกระทำ ประเมินและสื่อสารข้อมูลความรู้ตลอดจนรู้เท่าทันสื่อโดยการใช้สื่อต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสมมี
ประสิทธิภาพ

⎯ สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คมู่ ือครูรายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เลม่ 1 ซ

ผังมโนทศั น์ (concept map)
รายวชิ าพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 6 เลม่ 2

เน้ือหาการเรียนรู้วชิ าวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 เลม่ 2

ประกอบดว้ ย

หน่วยที่ 4 ปรากฏการณ์ หนว่ ยท่ี 5 เงา อุปราคา หน่วยที่ 6 แรงไฟฟา้
ของโลกและภัยธรรมชาติ และเทคโนโลยอี วกาศ และพลงั งานไฟฟ้า

ได้แก่ ไดแ้ ก่ ไดแ้ ก่
ลมบก ลมทะเล และมรสุม เงาและอปุ ราคา แรงไฟฟา้

ปรากฏการณเ์ รอื นกระจก เทคโนโลยีอวกาศ วงจรไฟฟา้ อย่างง่าย

ภัยธรรมชาติ

สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

ฌ คู่มอื ครูรายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 2
ตัวชว้ี ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เลม่ 2

ตวั ชว้ี ดั ชนั้ ปี สาระการเรยี นร้แู กนกลาง

ว 2.2 ป.6/1 • วัตถุ 2 ชนิดที่ผ่านการขัดถูแล้ว เมื่อนำเข้าใกล้กัน

อธิบายการเกิดและผลของแรงไฟฟ้าซ่ึงเกิดจาก อาจดึงดูดหรือผลักกัน แรงที่เกิดขึ้นนี้เป็นแรงไฟฟ้า
วัตถุทผี่ า่ นการขัดถโู ดยใชห้ ลักฐานเชิงประจักษ์ ซึ่งเป็นแรงไม่สัมผัส เกิดขึ้นระหว่างวัตถุที่มีประจุ

ไฟฟ้า ซึ่งประจุไฟฟ้ามี 2 ชนิด คือ ประจุไฟฟ้าบวก

และประจุไฟฟ้าลบ วัตถุที่มีประจุไฟฟ้าชนิดเดียวกัน

ผลกั กนั ชนดิ ตรงข้ามกันดงึ ดดู กัน

ว 2.3 ป.6/1 • วงจรไฟฟ้าอย่างง่ายประกอบด้วยแหล่งกำเนิดไฟฟ้า

ระบุส่วนประกอบและบรรยายหน้าทีข่ องแตล่ ะ สายไฟฟ้า และเครื่องใช้ไฟฟ้าหรืออุปกรณ์ไฟฟ้า
ส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้า อย่างง่าย แหล่งกำเนิดไฟฟ้า เช่น ถ่านไฟฉาย หรือแบตเตอร่ี
จากหลกั ฐานเชิงประจักษ์
ทำหน้าที่ให้พลังงานไฟฟ้า สายไฟฟ้าเป็นตัวนำไฟฟา้
ว 2.3 ป.6/2
ทำหน้าที่เชื่อมต่อระหว่างแหล่งกำเนิดไฟฟ้า และ
เขียนแผนภาพและตอ่ วงจรไฟฟ้าอยา่ งงา่ ย
เครื่องใช้ไฟฟ้าเข้าด้วยกัน เครื่องใช้ไฟฟ้ามีหน้าท่ี

เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเปน็ พลงั งานอน่ื

ว 2.3 ป.6/3 • เมื่อนำเซลล์ไฟฟ้าหลายเซลล์มาต่อเรียงกัน โดยให้

ออกแบบการทดลองและทดลองด้วยวิธีท่ี ขั้วบวกของเซลล์ไฟฟ้าเซลล์หนึ่งต่อกับขั้วลบของอีก
เหมาะสมในการอธิบายวิธีการและผลของการ เซลล์หนึ่งเป็นการต่อแบบอนุกรม ทำให้มีพลังงาน
ตอ่ เซลล์ไฟฟ้าแบบอนุกรม
ไฟฟ้าเหมาะสมกับเครื่องใช้ไฟฟ้า ซึ่งการต่อ
ว 2.3 ป.6/4
เซลล์ไฟฟ้าแบบอนุกรมสามารถนำไปใช้ประโยชน์ใน
ตระหนักถึงประโยชน์ของความรู้ของการต่อ ชวี ติ ประจำวัน เชน่ การต่อเซลลไ์ ฟฟา้ ในไฟฉาย
เซลล์ไฟฟ้าแบบอนุกรมโดยบอกประโยชน์และ

การประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจำวัน

ว 2.3 ป.6/5 • การต่อหลอดไฟฟ้าแบบอนุกรมเมื่อถอดหลอดไฟฟ้า
ออกแบบการทดลองและทดลองด้วยวิธีท่ี ดวงใดดวงหนึ่งออกทำให้หลอดไฟฟ้าที่เหลือดับ
เหมาะสมในการอธิบายการต่อหลอดไฟฟ้า ทั้งหมด ส่วนการต่อหลอดไฟฟ้าแบบขนาน เมื่อถอด
แบบอนุกรมและแบบขนาน หลอดไฟฟ้าดวงใดดวงหนึ่งออก หลอดไฟฟ้าที่เหลือ
ว 2.3 ป.6/6 ก็ยังสว่างได้ การต่อหลอดไฟฟ้าแต่ละแบบสามารถ
ตระหนักถึงประโยชน์ของความรู้ของการต่อ นำไปใช้ประโยชน์ได้ เช่น การต่อหลอดไฟฟ้า
หลอดไฟฟ้าแบบอนุกรมและแบบขนาน หลายดวงในบ้าน จึงต้องต่อหลอดไฟฟ้าแบบขนาน
โดยบอกประโยชน์ ข้อจำกัด และการ

ประยกุ ต์ใชใ้ นชวี ิตประจำวัน

⎯ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ อื ครูรายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 2 ญ

ตัวช้ีวดั ช้ันปี สาระการเรียนร้แู กนกลาง

เพื่อเลือกใช้หลอดไฟฟ้าดวงใดดวงหนึ่งได้ตาม

ตอ้ งการ

ว 2.3 ป.6/7 • เมื่อนำวัตถุทึบแสงมากั้นแสงจะเกิดเงาบนฉาก
อธิบายการเกิดเงามืดเงามัวจากหลักฐาน รับแสงที่อยู่ด้านหลังวัตถุ โดยเงามีรูปร่างคล้ายวัตถุ
เชงิ ประจักษ์ ที่ทำให้เกิดเงา เงามัวเป็นบริเวณที่มีแสงบางส่วนตก
ว 2.3 ป.6/8 ลงบนฉาก ส่วนเงามืดเป็นบรเิ วณที่ไมม่ ีแสงตกลงบน
เขียนแผนภาพรังสีของแสงแสดงการเกิดเงามดื ฉากเลย
เงามัว

ว 3.1 ป.6/1 • เมื่อโลกและดวงจันทร์ โคจรมาอยู่ในแนวเส้นตรง

สร้างแบบจำลองที่อธิบายการเกิด และ เดียวกันกับดวงอาทิตย์ในระยะทางที่เหมาะสม
เปรียบเทียบปรากฏการณ์สุริยุปราคาและ ทำใหด้ วงจันทรบ์ งั ดวงอาทิตย์ เงาของดวงจนั ทรท์ อด
จันทรปุ ราคา
มายังโลก ผู้สังเกตที่อยู่บริเวณเงาจะมองเห็น

ดวงอาทิตย์มืดไปเกิดปรากฏการณ์สุริยุปราคา ซึ่งมี

ทั้งสุริยุปราคาเต็มดวง สุริยุปราคาบางส่วน และ

สุริยปุ ราคาวงแหวน

• หากดวงจันทร์และโลกโคจรมาอยู่ในแนวเส้นตรง

เดียวกันกับดวงอาทิตย์ แล้วดวงจันทร์เคลื่อนที่ผ่าน

เงาของโลก จะมองเห็นดวงจันทร์มืดไป เกิด

ปรากฏการณ์จันทรุปราคา ซึ่งมีทั้งจันทรุปราคา

เต็มดวง และจันทรปุ ราคาบางสว่ น

ว 3.1 ป.6/2 • เทคโนโลยอี วกาศเร่มิ จากความต้องการของมนุษย์ใน

อธิบายพัฒนาการของเทคโนโลยีอวกาศ และ การสำรวจวัตถุท้องฟ้าโดยใช้ตาเปล่า กล้อง-
ยกตัวอย่างการนำเทคโนโลยีอวกาศมาใช้ โทรทรรศน์ และได้พัฒนาไปสู่การขนส่งเพื่อสำรวจ
ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน จากข้อมูลท่ี อวกาศด้วยจรวดและยานขนส่งอวกาศ และยังคง
รวบรวมได้
พัฒนาอย่างต่อเนื่อง ปัจจุบันมีการนำเทคโนโลยี

อวกาศบางประเภทมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน

เช่น การใช้ดาวเทียมเพื่อการสื่อสาร การพยากรณ์

อากาศ หรือการสำรวจทรัพยากรธรรมชาติ การใช้

อุปกรณ์วัดชีพจรและการเต้นของหัวใจ หมวกนิรภยั

ชุดกีฬา

สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

ฎ ค่มู ือครรู ายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เลม่ 2

ตวั ชี้วัดชั้นปี สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง

ว 3.2 ป. 6/4 • ลมบก ลมทะเล และมรสุม เกดิ จากพ้นื ดินและพ้ืนน้ำ

เปรยี บเทียบการเกิดลมบก ลมทะเล และมรสุม ร้อนและเย็นไม่เท่ากันทำให้อุณหภูมิอากาศเหนือ
รวมทั้งอธิบายผลที่มีต่อสิ่งมีชีวิตและ พื้นดินและพื้นน้ำแตกต่างกัน จึงเกิดการเคลื่อนที่
สงิ่ แวดลอ้ มจากแบบจำลอง
ของอากาศจากบรเิ วณที่มอี ุณหภมู ิตำ่ ไปยังบริเวณที่มี

อุณหภูมิสูง

• ลมบกและลมทะเลเป็นลมประจำถิ่นที่พบบริเวณ

ชายฝั่ง โดยลมบกเกิดในเวลากลางคืน ทำให้มีลมพดั

จากชายฝั่งไปสู่ทะเล ส่วนลมทะเลเกิดในเวลา

กลางวนั ทำให้มีลมพดั จากทะเลเขา้ สชู่ ายฝั่ง

ว 3.2 ป. 6/5 • มรสุมเป็นลมประจำฤดูเกิดบริเวณเขตร้อนของโลก

อธิบายผลของมรสุมต่อการเกิดฤดูของ ซึ่งเป็นบริเวณกว้างระดับภูมิภาค ประเทศไทยได้รับ
ประเทศไทย จากข้อมูลทีร่ วบรวมได้
ผลจากมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือในช่วงประมาณ

กลางเดือนตุลาคมจนถึงเดือนกุมภาพันธ์ทำให้เกิด

ฤดูหนาว และได้รับผลจากมรสุมตะวันตกเฉียงใต้

ใ น ช ่ ว ง ป ร ะ ม า ณ ก ล า ง เ ด ื อ น พ ฤ ษ ภ า ค ม จ น ถึ ง

กลางเดือนตลุ าคมทำใหเ้ กิดฤดูฝน ส่วนช่วงประมาณ

กลางเดือนกุมภาพันธ์จนถึงกลางเดือนพฤษภาคม

เป็นช่วงเปลี่ยนมรสุมและประเทศไทยอยู่ใกล้

เส้นศูนย์สูตร แสงอาทิตย์เกือบตั้งตรงและตั้งตรง

ประเทศไทยในเวลาเที่ยงวัน ทำให้ได้รับความร้อน

จากดวงอาทิตย์อย่างเต็มที่อากาศจึงร้อนอบอ้าว

ทำใหเ้ กดิ ฤดรู อ้ น

ว 3.2 ป. 6/6 • น้ำท่วม การกัดเซาะชายฝั่ง ดินถล่ม แผ่นดินไหว

บรรยายลักษณะและผลกระทบของ น้ำท่วม และ สึนามิ มีผลกระทบต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม
การกดั เซาะชายฝงั่ ดนิ ถลม่ แผ่นดินไหว สึนามิ แตกตา่ งกัน
ว 3.2 ป. 6/7
• มนุษย์ควรเรียนรู้วิธีปฏิบัติตนให้ปลอดภัย เช่น
ตระหนักถึงผลกระทบของภัยธรรมชาติและ ติดตามข่าวสารอย่างสม่ำเสมอ เตรียมถุงยังชีพ
ธรณีพิบัติภัย โดยนำเสนอแนวทางในการเฝ้า ให้พร้อมใช้ตลอดเวลา และปฏิบัติตามคำสั่งของ
ร ะ ว ั ง แ ล ะ ป ฏ ิ บ ั ต ิ ต น ใ ห ้ ป ล อ ด ภ ั ย จ าก ผู้ปกครองและเจ้าหน้าที่อย่างเคร่งครัดเมื่อเกิด
ภัยธรรมชาติและธรณีพิบัติภัยที่อาจเกิดใน ภัยธรรมชาติและธรณีพิบัติภัย
ท้องถนิ่

⎯ สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คู่มือครรู ายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เลม่ 2 ฏ

ตัวช้ีวดั ชัน้ ปี สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง

ว 3.2 ป. 6/8 • ปรากฏการณ์เรือนกระจกเกิดจากแก๊สเรือนกระจก

สร้างแบบจำลองที่อธิบายการเกิดปรากฏการณ์ ในชั้นบรรยากาศของโลก กักเก็บความร้อนแล้วคาย
เรือนกระจกและผลของปรากฏการณ์เรือน ความรอ้ นบางส่วนกลับสู่ผิวโลก ทำให้อากาศบนโลก
กระจกตอ่ สง่ิ มีชวี ิต
มีอุณหภูมเิ หมาะสมต่อการดำรงชีวิต
ว 3.2 ป. 6/9
• หากปรากฏการณ์เรือนกระจกรุนแรงมากขึ้นจะมีผล
ตระหนักถึงผลกระทบของปรากฏการณ์ ต่อการเปล่ียนแปลงภูมิอากาศโลก มนุษย์จึงควร
เรือนกระจกโดยนำเสนอแนวทางการปฏิบัตติ น ร่วมกันลดกจิ กรรมทีก่ อ่ ให้เกิดแก๊สเรอื นกระจก
เพอื่ ลดกิจกรรมทก่ี ่อใหเ้ กิดแกส๊ เรือนกระจก

สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

ฐ คมู่ อื ครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 2

ข้อแนะนำการใชค้ ูม่ อื ครู

คมู่ อื ครเู ล่มนจี้ ัดทำข้ึนเพ่ือใช้เปน็ แนวทางการจัดกิจกรรมสำหรบั ครู ในแต่ละหน่วยการเรียนรู้นักเรียน
จะได้ฝกึ ทักษะจากการทำกจิ กรรมต่าง ๆ ทงั้ การสงั เกต การสำรวจ การทดลอง การสบื ค้นขอ้ มูล การอภิปราย
การทำงานรว่ มกัน ซง่ึ เปน็ การฝึกใหน้ ักเรียนช่างสงั เกต รู้จกั ต้งั คำถาม รจู้ กั คิดหาเหตผุ ล เพ่ือตอบปญั หาต่าง ๆ
ได้ด้วยตนเอง ท้ังนีโ้ ดยมเี ปา้ หมายเพ่ือใหน้ ักเรยี นได้เรยี นรู้และค้นพบดว้ ยตนเองมากทีส่ ุด ดังน้ันในการจัดการ
เรียนรู้ ครูจึงเป็นผู้ช่วยเหลือ ส่งเสริม และสนับสนุนนักเรียนให้รู้จักสืบเสาะหาความรู้จากสื่อและแหล่ง
การเรียนรู้ต่าง ๆ และเพิ่มเติมข้อมูลที่ถูกต้องแก่นักเรียน เพื่อให้นักเรียนมีทักษะจากการศึกษาหาความรู้
ด้วยตนเอง

เพื่อให้เกิดประโยชน์จากคู่มือครูเล่มนีม้ ากที่สุด ครูควรทำความเข้าใจในรายละเอียดของแต่ละหัวขอ้
และข้อเสนอแนะเพ่มิ เติม ดังนี้

1. สาระการเรยี นร้แู กนกลาง

สาระการเรียนรู้แกนกลางเป็นสาระการเรียนรู้เฉพาะกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และ
เทคโนโลยีที่ปรากฏในมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด ฯ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กระทรวงศึกษาธิการ ได้กำหนดไว้เฉพาะส่วนที่จำเปน็
สำหรับเป็นพื้นฐานเกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวัน และเป็นพื้นฐานในการศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น โดย
สอดคล้องกับสาระและความสามารถ ความถนัดและความสนใจของนักเรียน ในทุกกิจกรรมจะมี
สาระสำคัญ ซึ่งเป็นเนื้อหาสาระที่ปรากฏอยู่ตามสาระการเรียนรู้โดยสถานศึกษาสามารถพัฒนาเพิ่มเติม
ได้ตามความเหมาะสม

สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด ฯ (ฉบับปรับปรุง
พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ได้เพิ่มสาระเทคโนโลยี ซึ่ง
ประกอบด้วยการออกแบบและเทคโนโลยี และวิทยาการคำนวณ ทั้งนี้เพื่อเอื้อต่อการจัดการเรียนรู้
บูรณาการสาระทางคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี กับกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม
ตามแนวคิด สะเต็มศึกษา

2. ภาพรวมการจัดการเรยี นรปู้ ระจำหน่วย

ภาพรวมการจัดการเรียนรู้ประจำหนว่ ยมีไว้เพ่ือเชื่อมโยงเนื้อหาสาระกับมาตรฐานการเรียนรู้และ
ตัวชี้วัดที่จะไดเ้ รียนในแต่ละกิจกรรมของหน่วยน้ัน ๆ และเป็นแนวทางให้ครผู ู้สอนนำไปปรับปรุงและ
เพ่ิมเตมิ ตามความเหมาะสม

3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้

แต่ละหน่วยการเรียนรู้นักเรียนจะได้ทำกิจกรรมอย่างหลากหลาย ในแต่ละส่วนของหนังสือเรียนทั้ง
ส่วนนำบท นำเรื่อง และกิจกรรมมีจุดประสงค์การเรียนรู้ที่สอดคล้องกับตัวชี้วัดชั้นปีเพื่อให้นักเรียนเกิด
การเรียนรู้ โดยยึดหลักให้นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติ สืบเสาะหาความรู้ด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
กระบวนการแก้ปัญหา การสื่อสาร และความสามารถในการตัดสินใจ การนำความรู้ไปใช้ในชีวิตและ

⎯ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คูม่ อื ครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 2 ฑ

ในสถานการณ์ใหม่ มีทกั ษะในการใช้เทคโนโลยี มีเจตคติ คุณธรรม จรยิ ธรรม และค่านิยมท่ีเหมาะสม
สามารถอยู่ในสงั คมไทยได้อยา่ งมีความสขุ

4. บทนมี้ อี ะไร

ส่วนท่ีบอกรายละเอียดในบทนั้น ๆ ซ่ึงประกอบด้วยชอ่ื เรอื่ ง คำสำคญั และชือ่ กจิ กรรม เพื่อครูจะ
ได้ทราบองคป์ ระกอบโดยรวมของแตล่ ะบท

5. ส่อื การเรียนรู้และแหลง่ เรยี นรู้

ส่วนที่บอกรายละเอียดสื่อการเรียนรู้และแหล่งเรียนรู้ที่ต้องใช้สำหรับการเรียนในบท เรื่อง และ
กิจกรรมนั้น ๆ โดยสื่อการเรียนรู้และแหล่งเรียนรู้ประกอบด้วยหน้าหนังสือเรียนและแบบบันทึกกิจกรรม
และอาจมีโปรแกรมประยุกต์ เว็บไซต์ สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อโสตทัศนูปกรณ์หรือตัวอย่างวีดิทัศน์ปฏิบัติการ
ทางวิทยาศาสตรเ์ พอื่ เสริมสรา้ งความมน่ั ใจในการสอนปฏบิ ตั กิ ารวิทยาศาสตรส์ ำหรบั ครู

6. ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์และทกั ษะแหง่ ศตวรรษที่ 21

ทักษะที่นักเรียนจะได้ฝึกปฏิบัติในแต่ละกิจกรรม โดยทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์เป็น
ทักษะที่นักวิทยาศาสตร์นำมาใช้ในกระบวนการต่าง ๆ ในการสืบเสาะหาความรู้ ส่วนทักษะแห่ง
ศตวรรษที่ 21 เป็นทักษะที่ช่วยเสริมสร้างการเรียนรู้และพัฒนาความสามารถของนักเรียนในด้านต่าง ๆ
เพอ่ื ให้ทันตอ่ การเปลย่ี นแปลงของโลก

สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

ฒ คมู่ ือครูรายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 2

วดี ิทัศน์ตวั อย่างปฏบิ ัติการวิทยาศาสตร์สำหรบั ครูเพื่อฝึกฝนทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรต์ า่ ง ๆ

มดี งั น้ี

รายการ ทกั ษะกระบวนการทาง Short link QR code
วิทยาศาสตร์

วดี ิทัศน์ การสงั เกตและการลง การสังเกตและการลง http://ipst.me/8115

ความเหน็ จากข้อมูล ความเหน็ จากข้อมลู

ทำไดอ้ ย่างไร

วดี ทิ ศั น์ การวดั ทำได้อยา่ งไร การวัด http://ipst.me/8116

วีดทิ ศั น์ การใช้ตัวเลข การใช้จำนวน http://ipst.me/8117
ทำได้อย่างไร

วีดทิ ัศน์ การจำแนกประเภท การจำแนกประเภท http://ipst.me/8118
ทำได้อย่างไร

วดี ทิ ัศน์ การหาความสมั พนั ธ์ การหาความสัมพันธ์ http://ipst.me/8119
ระหว่างสเปซกับสเปซ ระหว่างสเปซกบั สเปซ http://ipst.me/8120
ทำได้อย่างไร http://ipst.me/8121
http://ipst.me/8122
วดี ิทัศน์ การหาความสมั พนั ธ์ การหาความสมั พันธ์
ระหว่างสเปซกับเวลา ระหวา่ งสเปซกับเวลา
ทำได้อยา่ งไร

วีดทิ ัศน์ การจดั กระทำและสือ่ การจัดกระทำและสอื่
ความหมายข้อมลู ความหมายข้อมูล
ทำได้อย่างไร

วดี ิทศั น์ การพยากรณ์ การพยากรณ์
ทำได้อยา่ งไร

⎯ สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คูม่ ือครูรายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 2 ณ

รายการ ทักษะกระบวนการทาง Short link QR code
วิทยาศาสตร์ http://ipst.me/8123
วีดิทศั น์ ทำการทดลองได้
อยา่ งไร การทดลอง

วีดิทศั น์ การตั้งสมมตฐิ านทำได้ การต้งั สมมตฐิ าน http://ipst.me/8124
อย่างไร

วีดทิ ัศน์ การกำหนดและ การกำหนดและควบคุม http://ipst.me/8125
ควบคุมตัวแปรและ ตวั แปรและการกำหนด
การกำหนดนยิ ามเชงิ นิยามเชงิ ปฏบิ ัติการ
ปฏบิ ตั กิ ารทำได้
อย่างไร การตคี วามหมายข้อมูลและ http://ipst.me/8126
ลงข้อสรุป
วดี ิทศั น์ การตีความหมาย
ข้อมูลและลงข้อสรปุ
ทำได้อย่างไร

วดี ทิ ัศน์ การสรา้ งแบบจำลอง การสรา้ งแบบจำลอง http://ipst.me/8127
ทำได้อย่างไร

สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

ด คมู่ อื ครูรายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 2

7. แนวคิดคลาดเคลื่อน

ความเชื่อ ความรู้ หรือความเข้าใจที่ผิดหรือคลาดเคลื่อนซึ่งเกิดขึ้นกับนักเรียน เนื่องจาก
ประสบการณ์ในการเรยี นรู้ที่รบั มาผิดหรือนำความรู้ท่ีได้รับมาสรุปตามความเข้าใจของตนเองผิด แล้ว
ไม่สามารถอธิบายความเข้าใจนัน้ ได้ ดังนั้นเม่ือเรียนจบบทนี้แล้วครูควรแก้ไขแนวคิดคลาดเคลื่อนของ
นกั เรยี นใหเ้ ปน็ แนวคิดท่ถี ูกต้อง

8. บทน้ีเริม่ ตน้ อยา่ งไร

แนวทางสำหรับครูในการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนรู้จักคิดด้วยตนเอง
รู้จักค้นคว้าหาเหตุผล ครูควรกระตุ้นให้นักเรียนเกิดความสนใจในบทเรียนนั้น ๆ โดยและให้นักเรียน
ตอบคำถามสำรวจความรู้ก่อนเรียน จากนั้นครูสังเกตการตอบคำถามของนักเรียนและยังไม่เฉลย
คำตอบทีถ่ ูกตอ้ ง เพ่อื ใหน้ ักเรยี นไปหาคำตอบจากเรอื่ งและกจิ กรรมตา่ ง ๆ ในบทนั้น

9. เวลาที่ใช้

การเสนอแนะเวลาที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอนว่าควรใช้ประมาณกี่ชั่วโมง เพื่อช่วยให้
ครผู สู้ อนไดจ้ ดั ทำแผนการจัดการเรยี นรู้ได้อย่างเหมาะสม อยา่ งไรกต็ ามครอู าจปรบั เปล่ยี นเวลาได้ตาม
สถานการณแ์ ละความสามารถของนกั เรยี น

10. วสั ดอุ ปุ กรณ์

รายการวสั ดอุ ุปกรณ์ทัง้ หมดสำหรับการจัดกจิ กรรม โดยอาจมีท้งั วัสดุสนิ้ เปลอื ง อปุ กรณส์ ำเร็จรูป
อปุ กรณพ์ ื้นฐาน หรอื อนื่ ๆ

11. การเตรยี มตวั ล่วงหน้าสำหรับครู เพื่อจดั การเรยี นรู้ในครั้งถัดไป

การเตรียมตัวล่วงหน้าสำหรับการจัดการเรียนรู้ในครั้งถัดไป เพื่อครูจะได้เตรียมสื่อ อุปกรณ์
เครื่องมือต่าง ๆ ที่ต้องใช้ในกิจกรรมให้อยูใ่ นสภาพท่ีใชก้ ารไดด้ ีและมีจำนวนเพียงพอกบั นักเรียน โดย
อาจมีบางกิจกรรมตอ้ งทำลว่ งหนา้ หลายวัน เชน่ การเตรียมปลูกต้นถัว่
ขอ้ เสนอแนะเพ่ิมเตมิ

นกั เรียนในระดบั ชน้ั ประถมศึกษา มีกระบวนการคิดท่ีเปน็ รปู ธรรม ครจู งึ ควรจดั การเรียนการ
สอนที่มุ่งเน้นให้นักเรียนได้ปฏิบัติหรือทำการทดลองด้วยตนเอง ซึ่งเป็นวิธีหนึ่งที่นักเรียนจะได้มี
ประสบการณ์ตรง ดงั นน้ั ครผู สู้ อนจงึ ตอ้ งเตรยี มตัวเองในเรื่องต่อไปนี้

11.1 บทบาทของครู ครูจะต้องเปลี่ยนบทบาทจากการเป็นผู้ชี้นำหรือผู้ถ่ายทอดความรู้เป็น
ผู้ช่วยเหลือ โดยส่งเสริมและสนับสนุนนักเรียนในการแสวงหาความรู้จากสื่อและแหล่ง
การเรียนรูต้ า่ ง ๆ และให้ขอ้ มลู ท่ถี ูกต้องแก่นักเรียน เพ่อื ให้นกั เรยี นได้นำข้อมูลเหล่านั้นไป
ใชส้ รา้ งสรรค์ความรู้ของตนเอง

11.2 การเตรียมตัวของครูและนักเรียน ครูควรเตรียมนักเรียนให้มีความพร้อมในการทำ
กิจกรรมต่าง ๆ แต่บางครั้งนักเรียนไม่เข้าใจและอาจจะทำกิจกรรมไม่ถกู ต้อง ดังนั้นครจู ึง
ต้องเตรียมตวั เอง โดยทำความเข้าใจในเรอ่ื งตอ่ ไปนี้

⎯ สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ อื ครูรายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เลม่ 2 ต

การสืบค้นข้อมูลหรือการค้นคว้าด้วยวิธีการต่าง ๆ เช่น สอบถามจากผู้รู้ในท้องถิ่น
ดูจากรูปภาพแผนภูมิ อ่านหนังสือหรือเอกสารเท่าที่หาได้ นั่นคือการให้นักเรียนเป็นผู้หา
ความรู้และพบความรูห้ รอื ข้อมลู ดว้ ยตนเอง ซงึ่ เปน็ การเรยี นรู้ด้วยวธิ เี สาะหาความรู้

การนำเสนอมีหลายวิธี เช่น ให้นักเรียนหรือตัวแทนกลุ่มออกมาเล่าเรื่องที่ได้รับ
มอบหมายให้ไปสำรวจ สังเกต หรือทดลอง หรืออาจใหเ้ ขยี นเปน็ คำหรือเป็นประโยคลงใน
แบบบันทึกกิจกรรมหรือสมุดอื่นตามความเหมาะสม นอกจากนี้อาจให้วาดรูป หรือตัด
ขอ้ ความจากหนงั สือพมิ พ์ แลว้ นำมาติดไว้ในห้อง เป็นตน้

การสำรวจ ทดลอง สืบค้นข้อมูล สร้างแบบจำลองหรืออื่น ๆ เพื่อสร้างองค์ความรู้
เป็นสิ่งสำคัญอย่างยิ่งต่อการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ครูผู้สอนสามารถให้นักเรียนทำกิจกรรม
ได้ทั้งในห้องเรียน นอกห้องเรียนหรือที่บ้าน โดยไม่จำเป็นต้องใช้อุปกรณ์วิทยาศาสตร์
ราคาแพง อาจใช้อุปกรณ์ที่ดัดแปลงจากสิ่งของเหลือใช้ หรือใช้วัสดุธรรมชาติ ข้อสำคัญ
คือ ครูผู้สอนต้องให้นักเรียนทราบว่า ทำไมจึงต้องทำกิจกรรมนั้น และจะต้องทำอะไร
อย่างไร ผลจากการทำกิจกรรมจะสรุปผลอย่างไร ซึ่งจะทำให้นักเรียนได้ความรู้ ความคดิ
และทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์พร้อมกับเกิดค่านิยม คุณธรรม เจตคติทาง
วทิ ยาศาสตรด์ ้วย

12. แนวการจดั การเรยี นรู้

แนวทางสำหรับครูในการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้วิทยาศาสตรท์ ี่มุ่งส่งเสรมิ ให้นักเรียนรู้จกั คิดด้วย
ตนเอง รู้จักค้นคว้าหาเหตุผลและสามารถแก้ปัญหาได้ด้วยการนำเอาวิธีการต่าง ๆ ของกระบวนการทาง
วทิ ยาศาสตร์ไปใช้ วธิ กี ารจัดการเรียนรทู้ ่ี สสวท. เห็นว่าเหมาะสมที่จะนำนักเรียนไปสู่เป้าหมายท่ีกำหนด
ไว้ก็คือ วิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ ซึ่งมีองค์ประกอบที่สำคัญ คือ การมองเห็นปัญหา การสำรวจ
ตรวจสอบ และอภิปรายซกั ถามระหว่างครกู ับนักเรียนเพื่อนำไปส่ขู ้อสรุป
ขอ้ เสนอแนะเพิม่ เตมิ

นอกจากครูจะจัดกิจกรรมต่าง ๆ ตามคู่มือครูนี้ ครูสามารถจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามความ
เหมาะสมเพ่อื ให้บรรลุจดุ มุง่ หมาย โดยจะคำนงึ ถึงเรอ่ื งต่าง ๆ ดงั ต่อไปนี้

12.1 นักเรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้ ครูควรให้นกั เรยี นทุกคนมีสว่ นรว่ มในกิจกรรมการ
เรียนรู้ตลอดเวลาด้วยการกระตุ้นให้นักเรียนลงมือทำกิจกรรมและอภิปรายผล โดยครูอาจ
ใช้เทคนิคต่าง ๆ เช่น การใช้คำถาม การเสริมแรงมาใช้ให้เป็นประโยชน์ เพื่อให้การเรียน
การสอนน่าสนใจและมีชีวิตชีวา

12.2 การใชค้ ำถาม เพอ่ื นำนกั เรียนเขา้ สู่บทเรยี นและลงข้อสรปุ โดยไมใ่ ช้เวลานานเกินไป ท้งั น้คี รู
ต้องวางแผนการใช้คำถามอย่างมีประสิทธิภาพ โดยเลือกใช้คำถามที่มีความยากง่าย
พอเหมาะกับความสามารถของนักเรียน

12.3 การสำรวจตรวจสอบซ้ำ เป็นสิ่งจำเป็นเพื่อให้ได้ข้อมูลที่น่าเชื่อถือ ดังนั้นในการจัดการเรียนรู้
ครูควรเน้นยำ้ ให้นักเรียนได้สำรวจตรวจสอบซำ้ เพอื่ นำไปสู่ขอ้ สรุปทีถ่ กู ตอ้ งและเชอ่ื ถอื ได้

สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

ถ คูม่ อื ครูรายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 2

13. ข้อเสนอแนะเพม่ิ เตมิ

ข้อเสนอแนะสำหรับครูที่อาจเป็นประโยชน์ในการจัดการเรียนรู้ เช่น ตัวอย่างวัสดุอุปกรณ์ที่
เหมาะสมหรือใช้แทน ข้อควรระวงั วิธีการใช้อุปกรณ์ให้เหมาะสมและปลอดภัย วิธกี ารทำกจิ กรรมเพ่ือ
ลดข้อผิดพลาด ตวั อยา่ งตาราง และเสนอแหล่งเรียนรู้เพือ่ การค้นควา้ เพ่ิมเติม

14. ความร้เู พิ่มเติมสำหรบั ครู

ความรู้เพิ่มเติมในเนื้อหาที่สอนซึ่งจะมีรายละเอียดที่ลึกขึ้น เพื่อเพิ่มความรู้และความมั่นใจ
ในเรื่องที่จะสอนและแนะนำนักเรียนท่ีมีความสามารถสูง แต่ครูต้องไม่นำไปสอนนักเรียนในชั้นเรียน
เพราะไมเ่ หมาะสมกับวยั และระดับชน้ั

15. อยา่ ลมื นะ

สว่ นทเี่ ตอื นไม่ให้ครูเฉลยคำตอบที่ถูกต้อง กอ่ นท่จี ะไดร้ ับฟังความคิดและเหตุผลของนักเรียน
เพื่อให้นักเรียนได้คิดด้วยตนเองและครูจะได้ทราบว่านักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องนั้น
อย่างไรบ้าง โดยครูควรให้คำแนะนำเพื่อให้นักเรียนหาคำตอบได้ด้วยตนเอง นอกจากนั้นครูควรให้
ความสนใจตอ่ คำตอบของนักเรียนทุกคนด้วย

16. แนวการประเมินการเรยี นรู้

การประเมินการเรียนรู้ของนักเรียนที่ได้จากการอภิปรายในชั้นเรียน คำตอบของนักเรียนระหว่าง
การจัดการเรียนรู้และในแบบบันทึกกิจกรรม รวมทั้งการฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และ
ทกั ษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 ทไ่ี ด้จากการทำกจิ กรรมของนักเรยี น

17. กจิ กรรมทา้ ยบท
ส่วนทใี่ หน้ กั เรยี นไดส้ รปุ ความรู้ ความเขา้ ใจ ในบทเรียน และไดต้ รวจสอบความรใู้ นเน้ือหาที่

เรยี นมาท้ังบท หรืออาจตอ่ ยอดความรู้ในเรอื่ งนนั้ ๆ

ขอ้ แนะนำเพมิ่ เตมิ

1. การสอนอ่าน
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ให้ความหมายของคำว่า “อ่าน” หมายถึง ว่าตาม

ตัวหนงั สือ ถา้ ออกเสียงด้วย เรียกวา่ อา่ นออกเสียง ถ้าไม่ต้องออกเสียง เรียกว่า อา่ นในใจ หรืออีกความหมาย
ของคำว่า “อ่าน” หมายถึง สังเกตหรือพิจารณาดูเพือ่ ให้เข้าใจ เช่น อ่านสีหน้า อ่านริมฝีปาก อ่านใจ ตีความ
เชน่ อ่านรหสั อา่ นลายแทง

ปีพุทธศักราช 2541 กรมวิชาการ ได้กล่าวถึงความสำคัญของการอ่านไว้ว่า การอ่านเป็นทักษะที่สำคัญ
จำเป็นต้องเน้นและฝึกฝนให้แก่นักเรียนเป็นอย่างมาก เนื่องจากการอ่านเป็นกระบวนการสำคัญที่ทำให้ผู้อ่าน
สร้างความหมายหรือพัฒนาการวิเคราะห์ ตีความในระหว่างอ่าน ผู้อ่านจะต้องรู้หัวเรือ่ ง รู้จุดประสงค์การอา่ น
มีคว ามร ู้ทางภ า ษา ใ กล ้เ คี ย ง กับภ าษ าท ี่ ใช้ ใน หน ังส ื อที่ อ่านแล ะจ ำเป็ นต้ องใช ้ประสบการ ณ์เดิมที ่ เ ป็ น
ประสบการณพ์ ืน้ ฐานของผอู้ า่ น ทำความเขา้ ใจเร่อื งท่ีอา่ น ท้ังนีน้ กั เรยี นแตล่ ะคนอาจมีทักษะในการอา่ น ท่ี

⎯ สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คมู่ ือครูรายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 2 ท

แตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับองค์ประกอบหลายอย่าง เช่น ประสบการณ์เดิมของนักเรียน ความสามารถด้านภาษา
หรอื ความสนใจเร่ืองที่อ่าน ครูควรสงั เกตนกั เรียนวา่ นักเรียนแต่ละคนมีความสามารถในการอ่านอยู่ในระดับใด
ซ่ึงครจู ะต้องพจิ ารณาทั้งหลกั การอา่ น และความเขา้ ใจในการอา่ นของนักเรยี น

การรู้เรื่องการอ่าน (Reading literacy) หมายถึง การเข้าใจข้อมูล เนื้อหาสาระของสิ่งที่อ่าน การใช้
ประเมินและสะท้อนมุมมองของตนเองเกี่ยวกับสิ่งที่อ่านอย่างตั้งใจเพื่อบรรลุเป้าหมายส่วนตัวของตนเองหรือ
เพื่อพัฒนาความรู้และศักยภาพของตนเองและนำความรู้และศักยภาพนั้นมาใช้ในการแลกเปลี่ยนเ รียนรู้ใน
สังคม (PISA, 2018)
กรอบการประเมนิ ผลนักเรียนเพือ่ ใหม้ ีสมรรถนะการอา่ นในศตวรรษท่ี 21 ตามแนวทางของ PISA สามารถ
สรุปไดด้ ังแผนภาพด้านลา่ ง

จากกรอบการประเมินดังกล่าวจะเห็นได้ว่า การรู้เรื่องการอ่านเป็นสมรรถนะท่ีสำคัญท่ีครูควรส่งเสริมให้
นักเรียนมีความสามารถให้ครอบคลุม ตั้งแต่การค้นหาข้อมูลในสิ่งที่อ่าน เข้าใจเนื้อหาสาระที่อ่านไปจนถึง
ประเมินค่าเนื้อหาสาระที่อ่านได้ การเรียนการสอนวิทยาศาสตร์จำเป็นต้องอาศัยการอ่านเพื่อหาข้อมูล
ทำความเข้าใจเนื้อหาสาระของสิ่งที่อ่าน รวมทั้งประเมินสิ่งที่อ่านและนำเสนอมุมมองของตนเองเกี่ยวกับ
สิ่งทอี่ ่าน นักเรียนควรได้รบั สง่ เสรมิ การอ่านดังต่อไปนี้

1. นักเรียนควรได้รบั การฝึกการอา่ นข้อความแบบต่อเนื่อง จำแนกข้อความแบบต่างๆ กัน เช่น การบอก
การพรรณนา การโต้แย้ง รวมไปถึงการอ่านข้อเขียนที่ไม่ใช่ข้อความต่อเนื่อง ได้แก่ การอ่านรายการ
ตาราง แบบฟอร์ม กราฟ และแผนผัง เป็นต้น ซึ่งข้อความเหล่านี้เป็นสิ่งที่นักเรียนได้พบเห็นใน
โรงเรียน และจะต้องใช้ในชวี ติ จริงเมอื่ โตเป็นผใู้ หญ่ ซงึ่ ในคมู่ อื ครเู ล่มนต้ี ่อไปจะใช้คำแทนข้อความทั้งท่ี
เปน็ ข้อความแบบตอ่ เนื่องและขอ้ ความที่ไมใ่ ชข่ ้อความตอ่ เนื่องว่า สิ่งทอี่ า่ น (Text)

สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

ธ คู่มอื ครรู ายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เลม่ 2

2. นักเรียนควรได้รับการฝึกฝนให้มีความสามารถในการประเมินสิ่งที่อ่านว่ามีความเหมาะสมสอดคล้อง
กับลักษณะของข้อเขียนมากน้อยเพียงใด เช่น ใช้นวนิยาย จดหมาย หรือชีวประวัติเพื่อประโยชน์
ส่วนตัว ใช้เอกสารราชการหรือประกาศแจ้งความเพื่อสาธารณประโยชน์ ใช้รายงานหรือคู่มือต่างๆ
เพ่ือการทำงานอาชีพ ใช้ตำราหรือหนงั สือเรยี น เพือ่ การศกึ ษา เป็นต้น

3. นักเรียนควรไดร้ ับการฝึกฝนใหม้ ีสมรรถนะการอ่านเพื่อเรียนรู้ ในดา้ นตา่ ง ๆ ต่อไปนี้
3.1 ความสามารถทีจ่ ะคน้ หาเนือ้ หาสาระของสิง่ ที่อา่ น (Retrieving information)
3.2 ความสามารถท่จี ะเข้าใจเนื้อหาสาระของสิ่งท่ีอา่ น (Forming a broad understanding)
3.3 ความสามารถในการแปลความของส่ิงทอี่ ่าน (Interpretation)
3.4 ความสามารถในการประเมินและสามารถสะท้อนความคดิ เห็นหรือโต้แย้งจากมมุ มองของตน
เก่ยี วกับเนือ่ หาสาระของสง่ิ ที่อา่ น (Reflection and Evaluation the content of a text)
3.5 ความสามารถในการประเมินและสามารถสะท้อนความคิดเห็นหรือโตแ้ ยง้ จากมมุ มองของตน
เก่ยี วกับรปู แบบของสิง่ ที่อ่าน (Reflection and Evaluation the form of a text)

ท้ังน้ี สสวท. ขอเสนอแนะวธิ ีการสอนแบบต่าง ๆ เพือ่ เป็นการฝึกทักษะการอ่านของนักเรยี น ดังนี้

 เทคนิคการสอนแบบ DR-TA (The directed reading-thinking activity)
การสอนอ่านที่มงุ่ เนน้ ให้นักเรยี นได้ฝึกกระบวนการคิด กลั่นกรองและตรวจสอบข้อมูลท่ีได้จากการอ่าน

ด้วยตนเอง โดยให้นักเรียนคาดคะเนเนื้อหาหรือคำตอบล่วงหน้าจากประสบการณ์เดิมของนักเรียน โดยมี
ข้ันตอนการจดั การเรียนการสอน ดังน้ี

1. ครจู ัดแบ่งเน้อื เร่อื งทีจ่ ะอา่ นออกเป็นสว่ นยอ่ ย และวางแผนการสอนอ่านของเน้อื เรือ่ งทั้งหมด
2. นำเข้าสบู่ ทเรยี นโดยชกั ชวนใหน้ ักเรียนคดิ วา่ นักเรยี นรู้อะไรเกย่ี วกับเรื่องทีจ่ ะอา่ นบ้าง
3. ครูให้นักเรยี นสังเกตรูปภาพ หัวขอ้ หรอื อน่ื ๆ ทเ่ี กี่ยวกบั เนื้อหาท่จี ะเรยี น
4. ครูตั้งคำถามให้นักเรียนคาดคะเนเนื้อหาของเรื่องที่กำลังจะอ่าน ซึ่งอาจให้นักเรียนคิดว่าจะได้เรียน

เกยี่ วกบั อะไร โดยครพู ยายามกระตุ้นให้นกั เรยี นไดแ้ สดงความคดิ เห็นหรอื คาดคะเนเนื้อหา
5. ครูอาจให้นักเรียนเขียนสิ่งที่ตนเองคาดคะเนไว้ โดยจะทำเป็นรายคนหรือเป็นคู่ก็ได้ หรือครูนำ

อภิปรายแล้วเขียนแนวคดิ ของนักเรียนแต่ละคนไว้บนกระดาน
6. นักเรียนอ่านเนื้อเรื่อง จากนั้นประเมินหรือตรวจสอบ และอภิปรายว่าการคาดคะเนของตนเอง

ตรงกับเนื้อเรื่องที่อ่านหรือไม่ ถ้านักเรียนประเมินว่าเรื่องที่อ่านมีเนื้อหาตรงกับที่คาดคะเนไว้ให้
นกั เรียนแสดงข้อความท่ีสนบั สนุนการคาดคะเนของตนเองจากเน้ือเรื่อง
7. ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกัน โดยครูวิเคราะห์ว่านักเรียนแต่ละคนสามารถใช้การคาดคะเนด้วย
ตนเองอยา่ งไรบา้ ง
8. ทำซ้ำขั้นตอนเดิมในการอ่านเนื้อเรื่องส่วนอื่น ๆ เมื่อจบทั้งเรื่องแล้ว ครูปิดเรื่องโดยการทบทวน
เนื้อหาและอภปิ รายถึงวิธีการคาดคะเนของนักเรียนท่ีควรใชส้ ำหรับการอ่านเรื่องอ่ืน ๆ

⎯ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คมู่ ือครูรายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 2 น

 เทคนคิ การสอนแบบ KWL (Know – Want – Learn)
การสอนอ่านที่มุ่งเน้นให้นักเรียนได้เชื่อมโยงประสบการณ์เดิมกับประสบการณ์ใหม่อย่างเป็นรูปธรรม

และเปน็ ระบบ โดยผา่ นตาราง 3 ชอ่ ง คอื K-W-L (นกั เรียนรู้อะไรบา้ งเกี่ยวกับเรื่องทจี่ ะอ่าน นกั เรยี นต้องการรู้
อะไรเกี่ยวกบั เร่ืองที่จะอ่าน นกั เรียนได้เรียนรู้อะไรบ้างจากเร่ืองท่ีอ่าน) โดยมีขนั้ ตอนการจัดการเรียนการสอน
ดังน้ี

1. นำเข้าสู่บทเรียนด้วยการกระตุ้นความสนใจของนักเรียน โดยการใช้คำถาม การนำด้วยรูปภาพหรอื
วีดทิ ัศนท์ ี่เก่ียวกับเน้ือเรื่อง เพ่อื เช่ือมโยงเข้าสู่เรอื่ งท่ีจะอา่ น

2. ครูทำตารางแสดง K-W-L และอธิบายขั้นตอนการทำกิจกรรมโดยใช้เทคนิค K-W-L ว่ามีขั้นตอน
ดังน้ี
ขั้นที่ 1 กิจกรรมก่อนการอ่าน เรียกว่า ขั้น K มาจาก know (What we know) เป็นขั้นตอนที่ให้
นักเรียนระดมสมองแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่จะอ่าน แล้วบันทึกสิ่งที่ตนเองรู้ลงใน
ตารางช่อง K ขั้นตอนนี้ช่วยให้นักเรียนรู้ว่าตนเองรู้อะไรแล้วต้องอ่านอะไร โดยครูพยายาม
ต้งั คำถามกระตนุ้ ให้นักเรยี นไดแ้ สดงความคดิ เหน็
ขนั้ ที่ 2 กิจกรรมระหว่างการอ่าน เรียกว่า ขั้น W มาจาก want (What we want to know) เป็น
ขั้นตอนที่ให้นักเรียนตั้งคำถามเกี่ยวกับสิ่งที่ต้องการรู้เกี่ยวกับเรื่องที่กำลังจะอ่าน โดยครูและ
นกั เรยี นรว่ มกันกำหนดคำถาม แลว้ บันทึกสิง่ ที่ตอ้ งการรู้ลงในตารางช่อง W
ขน้ั ที่ 3 กิจกรรมหลังการอ่าน เรียกว่า ขั้น L มาจาก learn (What we have learned) เป็น
ขั้นตอนที่สำรวจว่าตนเองได้เรียนรู้อะไรบ้างจากการอ่าน โดยหลังจากอ่านเนื้อเรื่อง นักเรียน
หาข้อความมาตอบคำถามที่กำหนดไว้ในตารางช่อง W จากนั้นนำข้อมูลที่ได้จากการอ่านมา
จดั ลำดับความสำคัญของข้อมูลและสรปุ เน้ือหาสำคัญลงในตารางช่อง L

3. ครแู ละนักเรยี นรว่ มกนั สรปุ เนื้อหา โดยการอภิปรายหรอื ตรวจสอบคำตอบในตาราง K-W-L
4. ครูและนกั เรยี นอาจร่วมกันอภปิ รายเกีย่ วกบั การใช้ตาราง K-W-L มาช่วยในการเรียนการสอนการอ่าน
 เทคนิคการสอนแบบ QAR (Question-answer relationship)
การสอนอ่านที่มุ่งเน้นให้นักเรียนมคี วามเข้าใจในการจดั หมวดหมู่ของคำถามและต้ังคำถาม เพื่อให้ได้มา
ซึ่งแนวทางในการหาคำตอบ ซึ่งนักเรียนจะได้พิจารณาจากข้อมูลในเนื้อเรื่องที่จะเรียนและประสบการณ์เดิม
ของนักเรียน โดยมีขนั้ ตอนการจดั การเรียนการสอน ดงั นี้
1. ครจู ดั ทำชุดคำถามตามแบบ QAR จากเรือ่ งทีน่ กั เรยี นควรรหู้ รือเรื่องใกล้ตวั นักเรียน เพ่อื ช่วยให้นักเรียน

เขา้ ใจถึงการจดั หมวดหมู่ของคำถามตามแบบ QAR และควรเชอ่ื มโยงกบั เรื่องท่ีจะอ่านต่อไป
2. ครูแนะนำและอธิบายการสอนแบบ QAR โดยครูควรชี้แจงนักเรียนเกี่ยวกับการอ่านและการตั้งคำถาม

ตามหมวดหมู่ ได้แก่ คำถามที่ตอบโดยใช้เนื้อหาจากเรื่องที่อ่าน คำถามที่ต้องคิดและค้นคว้า คำถามที่
ไมม่ คี ำตอบโดยตรง ซ่ึงจะต้องใชค้ วามรู้เดิมและส่งิ ทีผ่ ้เู ขยี นเขียนไว้
3. นกั เรยี นอา่ นเน้ือเร่อื ง ตงั้ คำถามและตอบคำถามตามหมวดหมู่ และรว่ มกันอภปิ รายเพอ่ื สรุปคำตอบ
4. ครแู ละนกั เรยี นร่วมกันอภปิ รายเกยี่ วกบั การใช้เทคนคิ นด้ี ้วยตนเองไดอ้ ยา่ งไร

สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

บ คู่มอื ครรู ายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 2

2. การใช้งานสื่อ QR CODE
QR CODE เป็นรหัสหรือภาษาที่ต้องใช้โปรแกรมอ่านหรือสแกนข้อมูลออกมา ซึ่งต้องใช้งานผ่าน

โทรศัพท์เคลื่อนที่หรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ติดตั้งกล้องไว้ แล้วอ่าน QR Code ผ่านโปรแกรมต่าง ๆ เช่น
LINE (สำหรับโทรศัพท์เคลื่อนที่) Code Two QR Code Reader (สำหรับคอมพิวเตอร์) Camera (สำหรับ
ผลิตภัณฑ์ของ Apple Inc.)
ขัน้ ตอนการใช้งาน

1. เปิดโปรแกรมสำหรบั อา่ น QR Code
2. เล่อื นอุปกรณอ์ เิ ล็กทรอนิกส์ เชน่ โทรศพั ทเ์ คล่อื นที่ แท็บเลต็ เพอื่ ส่องรปู QR Code ไดท้ ้ังรปู
3. เปิดไฟล์หรือลงิ กท์ ่ีข้ึนมาหลังจากโปรแกรมไดอ้ ่าน QR CODE
**หมายเหตุ อุปกรณ์ที่ใช้อ่าน QR CODE ตอ้ งเปิด Internet ไวเ้ พอื่ ดึงขอ้ มลู
3. การใชง้ านโปรแกรมประยุกตค์ วามจรงิ เสริม (ภาพเคลื่อนไหว 3 มิติ)
เทคโนโลยีความจริงเสริม (AR) เป็นโปรแกรมที่สร้างขึ้นเพื่อเป็นสื่อเสรมิ ช่วยให้นักเรียนเข้าใจเนือ้ หา
สาระของบทเรียนอย่างเป็นรูปธรรมมากขึ้น โดยใช้งานผ่านโปรแกรมประยุกต์ “AR วิทย์ ประถม” ซ่ึงสามารถ
ดาวนโ์ หลดได้ทาง Play Store หรือ App Store
**หมายเหตุ เนื่องจากโปรแกรมมีขนาดไฟล์ที่ใหญ่ เพ่ือการใช้งานที่ดีควรมีพื้นที่ว่างในเครื่องไม่ต่ำกว่า 2 GB
หากพืน้ ทีจ่ ดั เกบ็ ไม่เพียงพออาจตอ้ งลบข้อมลู บางอย่างออกก่อนติดตัง้ โปรแกรม

ขั้นตอนการติดตงั้ โปรแกรม

1. เข้าไปที่ Play Store ( ) หรือ App Store ( )

2. ค้นหาคำวา่ “AR สสวท. วิทย์ประถม”

3. กดเข้าไปที่โปรแกรมประยกุ ตท์ ่ี สสวท. พัฒนา

4. กด “ตดิ ต้งั ” และรอจนติดตง้ั เรียบรอ้ ย

5. เข้าสู่โปรแกรมจะปรากฏหน้าแรก จากนั้นกด “วิธีการใช้งาน” เพื่อศึกษาการใช้งานโปรแกรม

เบือ้ งต้นดว้ ยตนเอง

6. หลังจากศึกษาวธิ กี ารใชง้ านดว้ ยตนเองแลว้ กด “สแกน AR”

7. กดดาวน์โหลดทีร่ ะดบั ช้นั ป. 6

7. เปิดหน้าหนังสือเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่มีสัญลักษณ์ AR

แล้วส่องรูปที่อยู่บริเวณสัญลักษณ์ AR โดยมีระยะห่างประมาณ

10 เซนตเิ มตร และเลือกดภู าพในมุมมองตา่ ง ๆ ตามความสนใจ

⎯ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 2 ป

การจัดการเรียนการสอนวทิ ยาศาสตร์ในระดบั ประถมศึกษา

นักเรยี นในระดับประถมศกึ ษาตอนตน้ (ป.1 – ป.3) ตามธรรมชาตแิ ลว้ มีความอยากรอู้ ยากเหน็ เกีย่ วกับ
สิ่งต่างๆ รอบตัว และเรียนรู้ได้ดีที่สุดด้วยการค้นพบ จากการลงมือปฏิบัติด้วยตนเองโดยอาศัยประสาทสัมผัส
ทั้งห้า ดังนั้นการจดั การเรียนการสอนในระดับประถมศึกษาตอนต้น จึงควรให้โอกาสนักเรียนมีส่วนร่วมในการ
ลงมือปฏิบัติ การสำรวจตรวจสอบ การค้นพบ การตั้งคำถามเพื่อนำไปสู่การอภิปราย การแลกเปลี่ยนผลการ
ทดลองดว้ ยคำพูด หรอื ภาพวาด การอภปิ รายเพ่อื สรุปผลรว่ มกัน สำหรบั นักเรียนในระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษาตอน
ปลาย (ป.4-ป.6) มีพัฒนาการทางสติปัญญาจากขั้นการคิดแบบรูปธรรมไปสู่ขั้นการคิดแบบนามธรรม มีความ
สนใจในสิ่งต่าง ๆ รอบตัว และสนใจว่าสิ่งต่าง ๆ ถูกประกอบเข้าด้วยกันอย่างไร และทำงานอย่างไร นักเรียน
ในช่วงวัยนี้ต้องการโอกาสที่จะมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมกลุ่มโดยการทำงานแบบร่วมมือ ดังนั้นจึงควร
ส่งเสริมให้นักเรียนทำโครงงานวิทยาศาสตร์ร่วมกันซึ่งจะเป็นการสร้างความสามัคคี และประสานสัมพันธ์
ระหวา่ งนกั เรียนในระดบั นีด้ ว้ ย

การจัดการเรยี นการสอนทเี่ นน้ การสืบเสาะหาความร้ทู างวทิ ยาศาสตร์

การสืบเสาะหาความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์ หมายถึงวิธีการที่นักวิทยาศาสตรใ์ ช้เพือ่ ศึกษาสิง่ ต่าง ๆ รอบตัวอยา่ ง
เป็นระบบ และเสนอคำอธิบายเกี่ยวกับสิ่งที่ศึกษาด้วยข้อมูลที่ได้จากการทำงานทางวิทยาศาสตร์ มีวิธีการอยู่
หลากหลาย เช่น การสำรวจ การสืบคน้ การทดลอง การสรา้ งแบบจำลอง

นักเรียนทุกระดับชั้นควรได้รับโอกาสในการสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์และพัฒนาความสามารถ
ในการคิดและแสดงออกด้วยวิธีการที่เชื่อมโยงกับการสืบเสาะหาความรู้ซึ่งรวมทั้งการตั้งคำถาม การวางแผนและ
ดำเนินการสืบเสาะหาความรู้ การใช้เครื่องมือและเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการรวบรวมข้อมูล การคิดอย่างมี
วิจารณญาณและมีเหตุผลเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างพยานหลักฐานและการอธิบาย การสร้างและวิเคราะห์
คำอธบิ ายทหี่ ลากหลาย และการสอ่ื สารข้อโต้แยง้ ทางวิทยาศาสตร์

การจัดการเรียนการสอนที่เน้นการสืบเสาะหาความรู้ ควรมีหลายรูปแบบ แต่ละรูปแบบมีความต่อเนื่องกัน
จากทีเ่ นน้ ครเู ป็นสำคัญไปจนถงึ เนน้ นักเรียนเปน็ สำคญั โดยแบง่ ได้ดังนี้

• การสืบเสาะหาความรู้แบบครูเป็นผู้กำหนดแนวทาง (Structured Inquiry) ครูเป็นผู้ตั้งคำถามและบอก
วธิ กี ารใหน้ กั เรยี นคน้ หาคำตอบ ครชู ้แี นะนกั เรยี นทุกข้นั ตอนโดยใชก้ ระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์

• การสืบเสาะหาความรู้แบบทั้งครูและนักเรียนเป็นผู้กำหนดแนวทาง (Guided Inquiry) ครูเป็นผู้ตั้งคำถาม
และจัดหาวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการสำรวจตรวจสอบให้กับนักเรียน นักเรียนจะเป็นผู้ออกแบบการทดลอง
ด้วยตัวเอง

• การสืบเสาะหาความรู้แบบนักเรียนเป็นผู้กำหนดแนวทาง (Open Inquiry) นักเรียนทำกิจกรรมตามที่ครู
กำหนด นกั เรียนพัฒนาวิธี ดำเนินการสำรวจ ตรวจสอบจากคำถามที่ครตู ้งั ขึ้น นักเรียนต้งั คำถามในหวั ขอ้ ที่ครู
เลือก พรอ้ มทงั้ ออกแบบการสำรวจตรวจสอบดว้ ยตนเอง

สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

ผ คมู่ อื ครูรายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 2

การสืบเสาะหาความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์ในหอ้ งเรยี น
เราสามารถจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ในห้องเรียนโดยจัดโอกาสให้ นักเรียนได้สืบเสาะหาความรู้

ทางวิทยาศาสตร์ตามที่หลกั สูตรกำหนด ด้วยกระบวนการแบบเดียวกันกับที่นักวิทยาศาสตร์สบื เสาะ แต่อาจมี
รปู แบบทห่ี ลากหลายตามบริบทและความพร้อมของครูและนักเรียน เชน่ การสบื เสาะหาความรู้แบบปลายเปิด
(Opened Inquiry) ที่นักเรียนเป็นผู้ควบคุมการสืบเสาะหาความรู้ของตนเองตั้งแต่การสร้างประเด็นคำถาม
การสำรวจตรวจสอบ (Investigation) และอธิบายสิ่งที่ศึกษาโดยใช้ข้อมูล (Data) หรือหลักฐาน (Evidence)
ที่ได้จากการสำรวจตรวจสอบ การประเมินและเชื่อมโยงความรู้ที่เกี่ยวข้องหรือคำอธิบายอื่นเพื่อปรับปรุง
คำอธิบายของตนและนำเสนอต่อผู้อื่น นอกจากนี้ ครูอาจใช้การสืบเสาะหาความรู้ที่ตนเองเป็นผู้กำหนดแนว
ในการทำกิจกรรม (Structured Inquiry) โดยครูสามารถแนะนำนักเรียนได้ตามความเหมาะสม

การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ครูสามารถออกแบบการสอนให้มีลักษณะ
สำคญั ของการสบื เสาะ ดังน้ี

ภาพ วฏั จักรการสืบเสาะหาความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์ในห้องเรียน

⎯ สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ค่มู อื ครรู ายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เลม่ 2 ฝ

การจดั การเรียนการสอนทีส่ อดคลอ้ งกบั ธรรมชาตขิ องวทิ ยาศาสตร์
และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ เป็นลักษณะเฉพาะตัวของวิทยาศาสตร์ที่มีความแตกต่างจากศาสตร์อื่น ๆ
เป็นค่านิยม ข้อสรุป แนวคิด หรือคำอธิบายที่บอกว่า วิทยาศาสตร์คืออะไร มีการทำงานอย่างไร
นักวิทยาศาสตร์คือใคร ทำงานอย่างไร และงานด้านวิทยาศาสตร์มีความสัมพันธ์อย่างไรกับสังคม ค่านิยม
ขอ้ สรุป แนวคิด หรือคำอธบิ ายเหลา่ นจี้ ะผสมกลมกลืนอยู่ในตวั วิทยาศาสตร์ ความร้ทู างวิทยาศาสตร์ และการ
พัฒนาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ สำหรับนักเรียนในระดับประถมศึกษาตอนต้น ความเข้าใจเกี่ยวกับธรรมชาติ
ของวิทยาศาสตร์และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขึ้นอยู่กับระดับพัฒนาการทางสติปัญญาของนักเรียนและ
ประสบการณท์ ีค่ รูจดั ให้แกน่ ักเรยี น ความสามารถในการสังเกตและการสื่อความหมายของนักเรียนในระดับน้ี
ค่อย ๆ พัฒนาขึ้น ครูควรอำนวยความสะดวกในการพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และแนวคิด
ทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียน นักเรียนในระดับนี้เริ่มที่จะเข้าใจว่าวิทยาศาสตร์คืออะไร วิทยาศาสตร์ทำงาน
อย่างไร และนักวิทยาศาสตร์ทำงานกันอย่างไรโดยผ่านการทำกิจกรรมในห้องเรียน จากเรื่องราวเกี่ยวกับ
นกั วิทยาศาสตร์ และจากการอภปิ รายในห้องเรียน

นักเรียนในระดบั ประถมศึกษาตอนปลายซึ่งกำลังพัฒนาฐานความรู้โดยใช้การสังเกตมากขึ้น สามารถ
นำความรมู้ าใชเ้ พื่อก่อให้เกดิ ความคาดหวังเกย่ี วกับสิ่งต่าง ๆ รอบตัว โอกาสการเรยี นรู้สำหรบั นกั เรียนในระดับนี้
ควรเน้นไปที่ทักษะการตั้งคำถามเชิงวิทยาศาสตร์ การสร้างคำอธิบายที่มีเหตุผลโดยอาศัยพยานหลักฐานท่ี
ปรากฏ และการสอ่ื ความหมายเก่ียวกับความคิดและการสำรวจตรวจสอบของตนเองและของนกั เรียนคนอื่นๆ
นอกจากนี้เรื่องราวทางประวัติศาสตร์สามารถเพิ่มความตระหนักถึงความหลากหลายของคนในชุมชน
วิทยาศาสตร์ นักเรียนในระดับนี้ควรมีส่วนร่วมในกิจกรรมที่ช่วยให้เขาคิดอย่างมีวิจารณญาณเกี่ยวกับ
พยานหลักฐานและความสัมพันธ์ระหว่างพยานหลกั ฐานกบั การอธิบาย

การเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์ของนกั เรยี นแตล่ ะระดบั ชัน้ มพี ัฒนาการเป็นลำดับดังน้ี

ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 1 สามารถ ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 2 สามารถ
• ตั้งคำถาม บรรยายคำถาม เขียนเกยี่ วกบั • ออกแบบและดำเนินการสำรวจตรวจสอบ

คำถาม เพื่อตอบคำถามท่ีไดต้ ั้งไว้
• บันทกึ ข้อมูลจากประสบการณ์ สำรวจ • สือ่ ความหมายความคิดของเขาจากสิ่งท่ี

ตรวจสอบช้ันเรยี น สงั เกต
• อภิปรายแลกเปล่ียนหลกั ฐานและความคิด • อ่านและการอภปิ รายเรือ่ งราวตา่ ง ๆ
• เรียนรวู้ ่าทุกคนสามาเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ได้
เกี่ยวกับวทิ ยาศาสตร์

สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

พ คมู่ ือครรู ายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เลม่ 2

ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 3 สามารถ ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 4 สามารถ
• ทำการทดลองอย่างง่าย ๆ
• ตง้ั คำถามทสี่ ามารถตอบไดโ้ ดยการใช้ • ใหเ้ หตผุ ลเก่ยี วกบั การสงั เกต การส่ือ
ฐานความรทู้ างวิทยาศาสตร์และการสงั เกต
ความหมาย
• ทำงานในกล่มุ แบบรว่ มมือเพื่อสำรวจ • ลงมอื ปฏบิ ตั กิ ารทดลองและการอภิปราย
ตรวจสอบ • คน้ หาแหล่งข้อมูลทเี่ ช่ือถือได้และบูรณาการ

• ค้นหาข้อมูลและการสอื่ ความหมายคำตอบ ข้อมลู เหลา่ นั้นกับการสงั เกตของตนเอง
• ศึกษาประวตั ิการทำงานของ
• สรา้ งคำบรรยายและคำอธิบายจากสิง่ ท่ี
สังเกต นกั วิทยาศาสตร์

• นำเสนอประวัติการทำงานของ
นกั วทิ ยาศาสตร์

ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 5 สามารถ ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 6 สามารถ

• สำรวจตรอบสอบ • สำรวจตรอบสอบท่เี นน้ การใช้ทกั ษะทาง
วิทยาศาสตร์
• ตงั้ คำถามทางวิทยาศาสตร์
• รวบรวมข้อมูลที่เก่ยี วข้อง การมองหา
• ตคี วามหมายข้อมูลและคดิ อย่างมี แบบแผนของข้อมูล การสื่อความหมาย
วิจารณญาณโดยมีหลักฐานสนับสนุน และการแลกเปลีย่ นเรียนรู้
คำอธิบาย
• เข้าใจความแตกต่างระหว่างวิทยาศาสตร์
• เขา้ ใจธรรมชาติวิทยาศาสตรจ์ ากประวัตกิ าร และเทคโนโลยี
ทำงานของนกั วิทยาศาสตรท์ ี่มีความมานะ
อตุ สาหะ • เขา้ ใจการทำงานทางวิทยาศาสตร์ผา่ น
ประวัตศิ าสตรข์ องนักวทิ ยาศาสตรท์ ุกเพศ
ที่มหี ลายเชื้อชาติ วัฒนธรรม

สามารถอ่านขอ้ มูลเพ่ิมเตมิ เก่ียวกับการจัดการเรยี นการสอนทีเ่ น้นการสืบเสาะหาความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์
และการจัดการเรยี นรู้ทสี่ อดคล้องกับธรรมชาติของวทิ ยาศาสตร์และกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ จากคู่มอื
การใช้หลกั สูตร

http://ipst.me/8922

⎯ สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คูม่ อื ครรู ายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เลม่ 2 ฟ

การวดั ผลและประเมินผลการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์

แนวคิดสำคญั ของการปฏริ ูปการศกึ ษาตามพระราชบัญญตั ิการศกึ ษาแหง่ ชาติ พทุ ธศักราช 2542 และ
ที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พุทธศักราช 2545 ที่เน้นนักเรียนเป็นสำคัญ คือ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เปิด
โอกาสให้นักเรียนคิดและลงมือปฏิบัติด้วยกระบวนการที่หลากหลาย เพื่อให้เกิดการเรียนรู้และพัฒนาตนเอง
เต็มตามศักยภาพ การวัดและประเมินผลจึงมีความสำคัญและจำเป็นอย่างยิ่งต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ใน
หอ้ งเรยี น เพราะสามารถทำให้ครปู ระเมนิ ระดับพัฒนาการการเรยี นรขู้ องนักเรียนได้

กิจกรรมการเรียนรู้ของนักเรียนมีหลากหลาย เช่น กิจกรรมสำรวจภาคสนาม กิจกรรมการสำรวจ
ตรวจสอบ การทดลอง กิจกรรมศกึ ษาค้นคว้า กจิ กรรมศกึ ษาปัญหาพิเศษ หรือโครงงานวทิ ยาศาสตร์ อย่างไรก็
ตามในการทำกิจกรรมเหล่านี้ต้องคำนึงว่านักเรียนแต่ละคนมีศักยภาพแตกต่างกัน นักเรียนจึงอาจทำงาน
ชิน้ เดียวกนั ได้สำเรจ็ ในเวลาทแี่ ตกตา่ งกนั และผลงานท่ีไดก้ ็อาจแตกตา่ งกันด้วย เมอ่ื นกั เรียนทำกจิ กรรมเหล่านี้
แล้วก็ต้องเก็บรวบรวมผลงาน เช่น รายงาน ชิ้นงาน บันทึก และรวมถึงทักษะปฏิบัติต่าง ๆ เจตคติทาง
วิทยาศาสตร์ เจตคติต่อวิทยาศาสตร์ ความรัก ความซาบซึ้ง กิจกรรมที่นักเรยี นได้ทำและผลงานเหล่านี้ต้องใช้
วิธีประเมินที่มีความเหมาะสมและแตกต่างกันเพื่อช่วยให้สามารถประเมินความรู้ความสามารถและความรู้สกึ
นึกคดิ ท่ีแทจ้ ริงของนักเรยี นได้ การวัดผลและประเมนิ ผลจะมปี ระสทิ ธภิ าพก็ต่อเมื่อมีการประเมนิ หลาย ๆ ด้าน
หลากหลายวธิ ี ในสถานการณ์ต่าง ๆ ท่ีสอดคล้องกบั ชวี ติ จรงิ และตอ้ งประเมินอย่างต่อเนื่อง เพ่ือจะได้ข้อมูลที่
มากพอท่จี ะสะท้อนความสามารถทีแ่ ท้จรงิ ของนกั เรียนได้

จดุ มงุ่ หมายหลกั ของการวดั ผลและประเมินผล

1. เพื่อค้นหาและวินิจฉัยว่านักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเนื้อหาวิทยาศาสตร์ มีทักษะความชำนาญใน
การสำรวจตรวจสอบทางวิทยาศาสตร์ รวมถึงมีเจตคติทางวิทยาศาสตร์อย่างไรและในระดับใด เพื่อเป็น
แนวทางให้ครสู ามารถวางแผนการจัดการเรียนการสอนได้อย่างเหมาะสมเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของนักเรยี นได้
อยา่ งเต็มศกั ยภาพ

2. เพอื่ ใชเ้ ป็นข้อมลู ย้อนกลบั สำหรบั นักเรยี นวา่ มกี ารเรยี นร้อู ยา่ งไร
3. เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการสรุปผลการเรียน และเปรียบเทียบระดับพัฒนาการด้านการเรียนรู้ของนักเรียน
แต่ละคน
การประเมินการเรียนรู้ของนักเรียน มี 3 แบบ คือ การประเมินเพื่อค้นหาและวินิจฉัย การประเมิน
เพื่อปรับปรงุ การเรียนการสอน และการประเมินเพอื่ ตดั สนิ ผลการเรียนการสอน
การประเมนิ เพ่ือค้นหาและวินิจฉัย เป็นการประเมนิ เพื่อบ่งช้ีก่อนการเรียนการสอนว่า นักเรียนมีพ้ืน
ฐานความรู้ ประสบการณ์ ทักษะ เจตคติ และแนวคิดท่ีคลาดเคลื่อนอะไรบ้าง การประเมินแบบนี้สามารถบ่งช้ี
ได้ว่านักเรียนคนใดต้องการความช่วยเหลือเป็นพิเศษในเรื่องที่ขาดหายไป หรือเป็นการประเมินเพื่อพัฒนา
ทักษะที่จำเป็นก่อนที่จะเรียนเรื่องต่อไป การประเมินแบบนี้ยังช่วยบ่งชี้ทักษะหรือแนวคิดที่มีอยู่แล้วของ
นักเรียนอีกด้วย การประเมินเพื่อปรับปรุงการเรียนการสอน เป็นการประเมินในระหวา่ งชว่ งทมี่ ีการเรยี นการสอน การ

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

ภ คูม่ ือครูรายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เลม่ 2

ประเมินแบบนี้จะช่วยบ่งชี้ระดับที่นักเรียนกำลังเรียนอยู่ในเรื่องที่ได้สอนไปแล้ว หรือบ่งชี้ความรู้ของนักเรียนตาม
จุดประสงค์การเรียนรู้ที่ได้วางแผนไว้ เป็นการประเมินที่ให้ข้อมูลย้อนกลับกับนักเรียนและกับครูว่าเป็นไปตาม
แผนการท่วี างไวห้ รือไม่ ข้อมูลทไี่ ด้จากการประเมนิ แบบน้ไี ม่ใชเ่ พ่อื เป้าประสงค์ในการใหร้ ะดบั คะแนน แตเ่ พอ่ื ชว่ ยครู
ในการปรับปรงุ การสอน และเพ่ือวางแผนประสบการณต์ ่างๆ ท่จี ะใหก้ ับนกั เรียนต่อไป

การประเมนิ เพื่อตดั สินผลการเรียนการสอน เกิดข้นึ เมือ่ สนิ้ สดุ การเรยี นการสอนแลว้ สว่ นมากเป็น “การ
สอบ” เพื่อให้ระดับคะแนนแก่นักเรียน หรือเพื่อให้ตำแหน่งความสามารถของนักเรียน หรือเพื่อเป็นการบ่งช้ี
ความก้าวหน้าในการเรียน การประเมินแบบนี้ถือว่ามีความสำคัญในความคิดของผู้ปกครองนักเรียน ครู ผู้บริหาร
อาจารย์แนะแนว ฯลฯ แต่ก็ไม่ใช่เป็นการประเมินภาพรวมทั้งหมดของความสามารถของนักเรียน ครูต้องระมัดระวงั
เมื่อประเมินผลรวมเพื่อตัดสินผลการเรียนของนักเรียน ทั้งนี้เพื่อให้เกิดความสมดุล ความยุติธรรม และเกิดความ
เทย่ี งตรง

การตัดสินผลการเรียนของนักเรียนมักจะมีการเปรียบเทียบกับสิ่งอ้างอิง ส่วนมากการประเมินมักจะ
อ้างอิงกลุ่ม (norm reference) คือเป็นการเปรียบเทียบความสามารถของนักเรียนโดยเปรียบเทียบกับกลุ่มหรือ
คะแนนของนักเรียนคนอื่นๆ การประเมินแบบกลุ่มนี้จะมี “ผู้ชนะ” และ “ผู้แพ้” อย่างไรก็ตามการประเมินแบบ
อิงกลุ่มนี้จะมีนักเรียนครึ่งหนึ่งที่อยู่ต่ำกว่าระดับคะแนนเฉลี่ยของกลุ่ม นอกจากนี้ยังมีการประเมินแบบอิงเกณฑ์
(criterion reference) ซึ่งเป็นการเปรียบเทียบความสามารถของนักเรียนกับเกณฑ์ที่ตั้งเอาไว้โดยไม่คำนึงถึง
คะแนนของนักเรียนคนอื่นๆ ฉะนั้นจุดมุ่งหมายในการเรียนการสอนจะต้องชัดเจนและมีเกณฑ์ที่บอกให้ทราบว่า
ความสามารถระดับใดจึงจะเรียกว่าบรรลุถึงระดับ “รอบรู้” โดยที่นักเรียนแต่ละคน หรือชั้นเรียนแต่ละชั้น หรือ
โรงเรียนแต่ละโรงจะได้รับการตัดสินว่าประสบผลสำเร็จก็ต่อเมื่อ นักเรียนแต่ละคน หรือชั้นเรียนแต่ละชั้น หรือ
โรงเรียนแต่ละโรงได้สาธิตผลสำเร็จ หรอื สาธิตความรอบรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้หรือตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้ ข้อมูล
ที่ใช้สำหรับการประเมินเพื่อวินิจฉัย หรือเพื่อปรับปรุงการเรียนการสอน หรือเพื่อตัดสินผลการเรียนการสอน
สามารถใช้การประเมินแบบอิงกลุ่มหรืออิงเกณฑ์ เท่าที่ผ่านมาการประเมินเพื่อตัดสินผลการเรียนการสอนจะใช้
การประเมินแบบอิงกลุ่ม

แนวทางการวดั ผลและประเมินผลการเรยี นรู้

การเรียนรู้จะบรรลตุ ามเปา้ หมายของการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ท่ีวางไว้ ควรมีแนวทางดังตอ่ ไปน้ี
1. วัดและประเมินผลทั้งความรู้ความคิด ความสามารถ ทักษะกระบวนการ เจตคติ คุณธรรม จริยธรรม

คา่ นยิ มดา้ นวิทยาศาสตร์ รวมทั้งโอกาสในการเรยี นรู้ของนกั เรยี น
2. วิธกี ารวดั และประเมนิ ผลตอ้ งสอดคลอ้ งกบั มาตรฐานการเรียนรู้ที่กำหนดไว้
3. เกบ็ ขอ้ มลู จากการวัดและประเมินผลอย่างตรงไปตรงมา และตอ้ งประเมินผลภายใตข้ ้อมลู ทีม่ ีอยู่
4. ผลของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของนักเรียนต้องนำไปสู่การแปลผลและลงข้อสรุปท่ี

สมเหตุสมผล
5. การวัดและประเมนิ ผลต้องมคี วามเทีย่ งตรงและเปน็ ธรรม ท้ังในดา้ นของวธิ ีการวัดและโอกาสของการประเมิน

⎯ สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คมู่ อื ครรู ายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เลม่ 2 ม
วิธีการและแหล่งข้อมลู ทีใ่ ชใ้ นการวดั ผลและประเมินผล

เพ่อื ให้การวดั ผลและประเมนิ ผลได้สะท้อนความสามารถท่ีแท้จรงิ ของนักเรียน ผลการประเมนิ อาจ
ไดม้ าจากแหล่งข้อมูลและวิธกี ารต่างๆ ดงั ต่อไปน้ี

1. สังเกตการแสดงออกเป็นรายบคุ คลหรอื รายกลุ่ม
2. ชิ้นงาน ผลงาน รายงาน
3. การสมั ภาษณ์ท้ังแบบเป็นทางการและไม่เป็นทางการ
4. บันทึกของนักเรียน
5. การประชุมปรกึ ษาหารือรว่ มกนั ระหวา่ งนักเรียนและครู
6. การวดั และประเมนิ ผลภาคปฏบิ ัติ
7. การวดั และประเมนิ ผลด้านความสามารถ
8. การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้โดยใช้แฟม้ ผลงาน

สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

ย คูม่ ือครรู ายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 2

ตารางแสดงความสอดคล้องระหวา่ งเน้ือหาและกิจกรรม ระดบั ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 6 เลม่ 2
กบั ตัวช้ีวดั กล่มุ สาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560)
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551

หนว่ ยการ ชอ่ื กจิ กรรม เวลา ตัวช้วี ดั
เรียนรู้ (ชั่วโมง)
ว 3.2 ป. 6/4
หน่วยท่ี 4 บทท่ี 1 ลมบก ลมทะเล และมรสุม 1 เปรียบเทยี บการเกิดลมบก ลมทะเล
1 และมรสุม รวมทั้งอธิบายผลที่มีต่อ
ปรากฏการณ์ เร่ืองที่ 1 การเกดิ ลมบก ลมทะเล และ สิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมจาก
1.5 แบบจำลอง
ของโลกและ มรสมุ ว 3.2 ป. 6/5
1.5 อธิบายผลของมรสุมต่อการเกิดฤดู
ภัยธรรมชาติ กิจกรรมที่ 1.1 ลมบก ลมทะเล ของประเทศไทย จากข้อมูลท่ี
รวบรวมได้
เกดิ ข้นึ ไดอ้ ยา่ งไร

กจิ กรรมท่ี 1.2 การเกดิ มรสุม

เกีย่ วข้องกบั ฤดูของประเทศ

ไทยอย่างไร

กิจกรรมท้ายบทท่ี 1 ลมบก ลมทะเล และ 1
มรสมุ

บทท่ี 2 ปรากฏการณเ์ รือนกระจก 0.5 ว 3.2 ป. 6/8
เร่อื งท่ี 1 ปรากฏการณเ์ รอื นกระจกและ 0.5 สร้างแบบจำลองที่อธิบายการเกิด

ภาวะโลกร้อน ปรากฏการณ์เรือนกระจกและผล
กิจกรรมที่ 1.1 ปรากฏการณ์ 1.5 ของปรากฏการณ์เรือนกระจก
เรือนกระจกเป็นอยา่ งไร
กจิ กรรมท่ี 1.2 เราจะลดการ ต่อสิ่งมชี ีวิต
ปล่อยแก๊สเรือนกระจกได้ 1.5 ว 3.2 ป. 6/9
อยา่ งไร
ตระหนักถึงผลกระทบของ
กจิ กรรมท้ายบทที่ 2 ปรากฏการณเ์ รอื น ปรากฏการณ์เรือนกระจกโดย
กระจก นำเสนอแนวทางการปฏิบัติตนเพื่อ
ลดกิจกรรมที่ก่อให้เกิดแก๊สเรือน
0.5 กระจก

⎯ สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คู่มือครรู ายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 2 ร

หนว่ ยการ ชื่อกจิ กรรม เวลา ตัวช้วี ดั
เรยี นรู้ บทท่ี 3 ภัยธรรมชาติ (ชัว่ โมง)
เรอ่ื งที่ 1 ภยั ธรรมชาติ ว 3.2 ป. 6/6
หน่วยที่ 5 0.5 บรรยายลักษณะและผลกระทบของ
เงา อปุ ราคา กิจกรรมที่ 1 ปฏบิ ตั ิตนอยา่ งไรให้ 0.5 น้ำท่วม การกัดเซาะชายฝั่ง ดินถล่ม
และ ปลอดภยั จากภัยธรรมชาติ 1 แผ่นดนิ ไหว สึนามิ
เทคโนโลยี ว 3.2 ป. 6/7
อวกาศ กิจกรรมท้ายบทท่ี 3 ภยั ธรรมชาติ 0.5 ต ร ะ ห น ั ก ถ ึ ง ผ ล ก ร ะ ท บ ข อ ง ภั ย
ธรรมชาติและธรณีพิบัติภัย โดย
บทท่ี 1 เงาและอุปราคา 1 นำเสนอแนวทางในการเฝา้ ระวังและ
เรื่องท่ี 1 การเกิดเงา 0.5 ปฏิบัติตนให้ปลอดภัยจาก
1.5 ภัยธรรมชาติและธรณีพิบัติภัยที่อาจ
กจิ กรรมท่ี 1 เงาเกดิ ขน้ึ ได้ เกดิ ในท้องถ่นิ
อย่างไรและมีลักษณะอยา่ งไร
ว 2.3 ป.6/7
อธิบายการเกิดเงามืดเงามัวจาก
หลักฐานเชงิ ประจกั ษ์
ว 2.3 ป.6/8
เขียนแผนภาพรงั สีของแสงแสดงการ
เกดิ เงามืดเงามัว

เรอื่ งท่ี 2 การเกิดสรุ ิยปุ ราคาและ 0.5 ว 3.1 ป.6/1
จนั ทรปุ ราคา สร้างแบบจำลองที่อธิบายการเกิด
กจิ กรรมที่ 2.1 มองเห็นดวง
จนั ทรบ์ งั ดวงอาทติ ยไ์ ด้อย่างไร 1.5 และเปรียบเทียบปรากฏการณ์
กิจกรรมที่ 2.2 สุริยปุ ราคา สรุ ยิ ปุ ราคาและจนั ทรุปราคา
เกิดข้นึ ได้อย่างไร
กิจกรรมที่ 2.3 จนั ทรปุ ราคา 1
เกิดขึ้นได้อย่างไร 1

กิจกรรมท้ายบทท่ี 1 เงาและอปุ ราคา 1

สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

ล คมู่ อื ครรู ายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 2

หน่วยการ ช่อื กจิ กรรม เวลา ตัวชวี้ ัด
เรยี นรู้ (ชั่วโมง)
บทที่ 2 เทคโนโลยอี วกาศ ว 3.1 ป.6/2
เร่ืองท่ี 1 รู้จกั เทคโนโลยอี วกาศ 0.5 อธิบายพัฒนาการของเทคโนโลยี
อวกาศ และยกตัวอย่างการนำ
กิจกรรมท่ี 1.1 เทคโนโลยี 1.5 เทคโนโลยีอวกาศมาใช้ประโยชน์ใน
อวกาศมกี ารพฒั นาอย่างไร ชีวิตประจำวัน จากข้อมูลที่รวบรวม
กิจกรรมท่ี 1.2 เทคโนโลยี 2 ได้
อวกาศมีประโยชนอ์ ย่างไร

หน่วยท่ี 6 กจิ กรรมท้ายบทท่ี 2 เทคโนโลยีอวกาศ 0.5
แรงไฟฟ้า บทที่ 1 แรงไฟฟ้า
และพลงั งาน เร่อื งที่ 1 การเกิดและผลของแรงไฟฟ้า 0.5 ว 2.2 ป.6/1
ไฟฟา้ 0.5 อธิบายการเกิดและผลของแรงไฟฟา้
กจิ กรรมท่ี 1.1 แรงไฟฟ้าเกิดขนึ้ 1 ซึง่ เกดิ จากวตั ถุที่ผา่ นการขัดถูโดยใช้
ไดอ้ ยา่ งไร
กิจกรรมที่ 1.2 ผลของแรงไฟฟ้า หลักฐานเชงิ ประจกั ษ์
เป็นอยา่ งไร
2

กิจกรรมท้ายบทท่ี 1 แรงไฟฟ้า 0.5

บทท่ี 2 วงจรไฟฟ้าอยา่ งงา่ ย 0.5 ว 2.3 ป.6/1
เรอ่ื งท่ี 1 วงจรไฟฟา้ ใกลต้ วั
0.5 ระบุส่วนประกอบและบรรยาย
กิจกรรมที่ 1 ต่อวงจรไฟฟา้ อยา่ ง
งา่ ยได้อย่างไร 1.5 หน้าที่ของแต่ละส่วนประกอบของ
เรอ่ื งที่ 2 การตอ่ เซลลไ์ ฟฟา้
กิจกรรมท่ี 2.1 เซลลไ์ ฟฟา้ ต่อกนั วงจรไฟฟา้ อยา่ งงา่ ยจากหลกั ฐานเชิง
อย่างไร
กิจกรรมท่ี 2.2 เขียนแผนภาพ 0.5 ประจักษ์
วงจรไฟฟ้าได้อยา่ งไร 2.5 ว 2.3 ป.6/3
ออกแบบการทดลองและทดลอง

ด้วยวิธีที่เหมาะสมในการอธิบาย

2 วิธีการและผลของการต่อเซลล์ไฟฟา้

แบบอนกุ รม

ว 2.3 ป.6/4

ตระหนักถึงประโยชน์ของความรู้

ของการต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบอนุกรม

⎯ สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คมู่ อื ครูรายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เลม่ 2 ว

หน่วยการ ชื่อกจิ กรรม เวลา ตัวชีว้ ัด
เรยี นรู้ (ช่ัวโมง)
โดยบอกประโยชน์และการ
ประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ติ ประจำวัน
ว 2.3 ป.6/2
เขียนแผนภาพและต่อวงจรไฟฟ้า
อยา่ งง่าย

เรื่องท่ี 3 การต่อเครือ่ งใช้ไฟฟา้ ในบา้ น 0.5 ว 2.3 ป.6/5
กิจกรรมที่ 3 หลอดไฟฟ้าต่อกนั 1.5 ออกแบบการทดลองและทดลอง
อย่างไร
ด้วยวิธีทีเ่ หมาะสมในการอธิบายการ
กิจกรรมท้ายบทท่ี 2 วงจรไฟฟา้ อยา่ งง่าย ต่อหลอดไฟฟ้า แบบอนุกรมและ
แบบขนาน
รวมจำนวนชวั่ โมง 0.5 ว 2.3 ป.6/6
ตระหนักถึงประโยชน์ของความรู้
ของการต่อหลอดไฟฟ้าแบบอนุกรม
และแบบขนาน โดยบอกประโยชน์
ข้อจำกัด และการประยุกต์ใช้ใน
ชีวิตประจำวัน

40

หมายเหตุ: กิจกรรม เวลาท่ใี ช้ และสิง่ ท่ีต้องเตรียมล่วงหนา้ น้ัน ครสู ามารถปรับเปลย่ี นเพ่ิมเติมได้ตามความ
เหมาะสมของสภาพท้องถน่ิ

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

ศ คมู่ ือครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เลม่ 2
รายการวัสดุอปุ กรณว์ ิทยาศาสตร์ ป.6 เล่ม 2

ลำดบั ที่ รายการ จำนวน/กลุ่ม จำนวน/ห้อง จำนวน/คน

หนว่ ยท่ี 4 ปรากฏการณ์ของโลกและภัยธรรมชาติ 1 อนั
2 ใบ
1 ลกู โลก 2 ฝา
1 แผ่น
2 ขวดพลาสติกใสขนาด 1.5 ลติ ร 2 อนั
2 ใบ
3 ฝาขวดทเ่ี จาะรูตรงกลาง 1 อนั
2 ดวง
4 กระดาษสขี าว 1 มว้ น
1 เล่ม
5 เทอร์มอมเิ ตอร์ 1 ใบ
1 เรอื น
6 แก้วพลาสติกใส 200 cm3
200 cm3
7 ไมบ้ รรทดั 1 กอ้ น
1 ชดุ
8 โคมไฟ
2 อนั
9 เทปใส 1 ก้อน
1 เล่ม
10 กรรไกร 1 แผน่
2-3 อัน
11 บกี เกอร์ 1 มว้ น
2-3 กอ้ น
12 นาฬกิ า 1 กระบอก

13 น้ำโซดา

14 นำ้

15 ดนิ น้ำมัน

16 ชดุ เกม Too Little Too Late

หน่วยที่ 5 เงาและอุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศ

1 คลิปหขู าว

2 ดินน้ำมัน

3 กรรไกร

4 กระดาษแข็งเทาขาวขนาด A4

5 ไม้เสียบ

6 เทปใส

7 ถ่านไฟฉาย

8 ไฟฉาย

⎯ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คู่มือครรู ายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 2 ษ

ลำดับท่ี รายการ จำนวน/กลุ่ม จำนวน/ห้อง จำนวน/คน
1 ใบ
9 กระป๋องเปล่า 1 อัน/ เส้น
สลี ะ 1 กอ้ น
10 ไมเ้ มตรหรือสายวดั 1 มว้ น
1 ใบ
11 ดินน้ำมันตา่ งสี 2 สี 1 แผน่
1 กล่อง
12 กระดาษกาวยน่ 20 แผ่น

13 ลกู โลก

14 กระดาษปรูฟ๊

15 ปากกาเมจกิ

16 กระดาษขาวขนาด 10 x 10 เซนติเมตร

17 ชุดเกมกระดานสถานีอวกาศ (space station)

ประกอบดว้ ย 1 ชดุ

• กระดานอวกาศ

• การด์ สถานการณ์

• การ์ดขยะอวกาศ

• ลูกเตา๋ สขี าว 30 ลูก
30 ลกู
• ลกู เตา๋ สีดำ
1 แผน่
• การ์ดเงิน 1 เลม่
1 ม้วน
• การด์ สญั ญาเงนิ กู้ 1 ม้วน
2 อัน
หน่วยที่ 6 แรงไฟฟา้ และพลังงานไฟฟา้ 1 อนั
2 ดา้ ม
1 กระดาษขนาด A4 2 ลกู
2 แทง่
2 กรรไกร
2 ทอ่ น
3 เทปใส

4 กระดาษเย่ือ (หรือกระดาษชำระ)

5 ไมบ้ รรทัดพลาสตกิ

6 ไม้บรรทัดเหล็ก

7 ปากกาเมจิก

8 ลกู โป่งที่เป่าให้พอง

9 แท่งแก้วคน

10 ท่อพวี ซี ีขนาดเส้นผ่านศนู ย์กลางประมาณ ¼ นิ้ว

ยาวประมาณ 15 เซนติเมตร

สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

ส คมู่ อื ครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เลม่ 2

ลำดับท่ี รายการ จำนวน/กลุม่ จำนวน/หอ้ ง จำนวน/คน
11 ดินสอไม้ 1 แทง่ 1 ใบ
12 ฝาขวดพลาสติก 1 ฝา 1 ม้วน
13 ถาดอะลมู ิเนียสำหรบั บรรจุขนมพาย 1 แผ่น
14 เทปกาว 2 หนา้ 2 ดวง 1 หลอด
15 แผ่นพลาสติกใส หรือปกพลาสตกิ 2 อนั
16 หลอดนอี อน 2 ขา ขนาด 110 โวลต์ 10 เสน้ 1 ชดุ
17 หลอดไฟฟ้าแบบมีไส้ขนาด 2.5 โวลต์ 2 กอ้ น
18 ฐานหลอดไฟฟ้า 2 อนั
19 สายไฟฟา้ 2-3 ชนดิ
20 ถ่านไฟฉายแบบ D ขนาด 1.5 โวลต์ 1 อัน
21 กระบะใสถ่ ่านไฟฉายสำหรับใส่ถ่านไฟฉายจำนวน 1 อนั
1 ก้อน 1 อนั
22 เครอื่ งใช้ไฟฟา้ ท่ีใชถ้ ่านไฟฉายมากกว่า 1 ก้อน
23 สวติ ช์
24 มอเตอรต์ ิดใบพัด
25 ออดไฟฟ้า
26 ไฟประดบั ขนาดเล็กที่เรียงเป็นสายยาว

⎯ สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ค่มู อื ครูรายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เลม่ 2 ห

สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

1 คมู่ อื ครรู ายวชิ าพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เลม่ 2 | หน่วยท่ี 4 ปรากฏการณข์ องโลกและภยั ธรรมชาติ

หนว่ ยที่ 4 ปรากฏการณข์ องโลกและภยั ธรรมชาติ

ภาพรวมการจัดการเรียนร้ปู ระจำหนว่ ยที่ 4 ปรากฏการณข์ องโลกและภยั ธรรมชาติ

บท เร่ือง กิจกรรม ลำดับแนวคิดต่อเนื่อง ตัวช้ีวดั
บทที่ 1 ลมบก เรือ่ งที่ 1 การเกดิ ลมบก กิจกรรมที่ 1.1 ลมบก ว 3.2 ป.6/4
ลมทะเล และ ลมทะเล และมรสุม ลมทะเลเป็นอย่างไร • ลมบก ลมทะเลเป็นลมประจำถิ่น เปรยี บเทยี บการ
มรสมุ เกิดบรเิ วณชายฝง่ั เกดิ ลมบก ลม
ทะเล และมรสมุ
• ลมบก ลมทะเล มหี ลกั การเกดิ รวมทง้ั อธิบายผลท่ี
เหมือนกนั คือเกิดจากความแตกต่าง มีตอ่ ส่ิงมชี วี ิตและ
ระหว่างอณุ หภูมขิ องอากาศเหนือ ส่ิงแวดล้อมจาก
พน้ื ดินบรเิ วณชายฝงั่ และอุณหภมู ิ แบบจำลอง
ของอากาศเหนือพ้นื ทะเล สว่ นส่ิงที่
แตกตา่ งกันคอื ชว่ งเวลาท่ีเกดิ และ
ทศิ ทางการเคลื่อนท่ขี องอากาศ
ระหว่างพื้นดินบรเิ วณชายฝ่งั และ
พื้นทะเล

• ลมบกเกิดในช่วงเวลากลางคืน
เน่อื งจากพืน้ ดนิ บรเิ วณชายฝ่ังเยน็
เร็ว ในขณะท่ีพน้ื ทะเลยังคงมี
อณุ หภมู ิสูงอยู่ น้ำทะเลจงึ คายความ
ร้อนไปสู่อากาศ ทำให้อากาศเหนือ
พน้ื ทะเลมอี ุณหภูมิสูงและเคลื่อนท่ี
สงู ขึน้ อากาศเหนือพน้ื ดินซ่ึงมี
อณุ หภมู ิต่ำกว่าจงึ เคล่อื นเข้ามา
แทนที่ เกิดลมบกพดั จากชายฝั่งออก
สู่ทะเล

• ลมทะเลเกิดในชว่ งเวลากลางวัน
เนอ่ื งจากพื้นดนิ บริเวณชายฝัง่ และ
พนื้ ทะเลเม่ือได้รับความรอ้ นจาก
ดวงอาทิตย์ พื้นดินบริเวณชายฝัง่ จะ

สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

คมู่ ือครรู ายวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 2 | หน่วยท่ี 4 ปรากฏการณ์ของโลกและภัยธรรมชาติ 2

บท เร่อื ง กจิ กรรม ลำดบั แนวคดิ ต่อเนอื่ ง ตัวช้ีวัด

รอ้ นเรว็ กวา่ พน้ื ทะเล และคายความ

ร้อนไปสอู่ ากาศไดเ้ รว็ กว่า อุณหภูมิ

ของอากาศเหนือพนื้ ดินบริเวณ

ชายฝงั่ จงึ สูงและเคล่ือนทส่ี งู ขนึ้

อากาศเหนอื พนื้ ทะเลซง่ึ มอี ณุ หภมู ิตำ่

กวา่ จึงเคล่อื นเขา้ มาแทนที่ เกิดลม

ทะเลพดั จากทะเลเข้าส่ชู ายฝง่ั

• การเกดิ ลมบก ลมทะเล มผี ลต่อ

สงิ่ มีชีวติ และสงิ่ แวดล้อมบรเิ วณ

ชายฝั่ง

• ลมบก ลมทะเล และมรสมุ มีหลักการ

เกิดเหมือนกนั คือเกดิ จากความ

แตกตา่ งระหว่างอุณหภมู ิของอากาศ

เหนอื พนื้ ดนิ และพ้นื น้ำ และมสี ิง่ ที่

แตกตา่ งกัน คือขนาดของบริเวณท่ี

เกดิ และช่วงระยะเวลาการเกิด โดย

ลมบก ลมทะเลเกิดบรเิ วณชายฝัง่

สว่ นมรสุมเกิดข้ึนในบริเวณทม่ี ีขนาด
ใหญ่กวา่ ซ่ึงจะเกิดบรเิ วณเขตร้อน

ของโลก (บรเิ วณระหว่างละตจิ ูด

23.5 องศาเหนือและละติจูด 23.5

องศาใต้) ลมบก ลมทะเล เกดิ ในชว่ ง
เวลา 1 วัน คอื ช่วงเวลากลางวันและ

กลางคนื สว่ นการเกิดมรสุมในแตล่ ะ

ครัง้ เกดิ ในช่วงระยะเวลานาน

ต่อเนอ่ื งหลายเดือน

• มรสมุ ท่พี ดั ผา่ นประเทศไทย ได้แก่
กิจกรรมที่ 1.2 การเกิด มรสุมตะวนั ตกเฉยี งใต้ และมรสุม
มรสมุ เกี่ยวข้องกบั ฤดู
ตะวันออกเฉียงเหนือ
ของประเทศไทย
อย่างไร • ประเทศไทยไดร้ ับผลจากมรสุม
ตะวันตกเฉยี งใต้ประมาณกลางเดือน

พฤษภาคมจนถึงกลางเดอื นตุลาคม

⎯สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

3 ค่มู อื ครูรายวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เลม่ 2 | หน่วยที่ 4 ปรากฏการณ์ของโลกและภยั ธรรมชาติ

บท เร่อื ง กจิ กรรม ลำดบั แนวคดิ ตอ่ เนอื่ ง ตวั ชวี้ ัด

ซงึ่ เปน็ ช่วงทีโ่ ลกเอียงข้วั โลกเหนือ

เขา้ หาดวงอาทติ ย์ ทำให้อากาศทาง

ซกี โลกเหนือมีอณุ หภมู สิ งู กวา่

อณุ หภมู ิของอากาศทางซีกโลกใต้

อากาศทางซกี โลกเหนือเคล่ือนท่ี

สงู ขน้ึ และอากาศทางซกี โลกใตจ้ ะ

เคลอื่ นเขา้ มาแทนที่ ซึง่ เมื่อพัดผา่ น

มหาสมทุ รกจ็ ะนำความชืน้ ไปยัง

ประเทศทีพ่ ดั ผ่าน ประเทศไทยไดร้ บั

ผลจากมรสมุ ดงั กลา่ ว ซง่ึ จะพัดผ่าน

ประเทศไทยไปยงั พื้นทวปี ทางซีกโลก

เหนอื ทำใหช้ ่วงเดอื นนี้ของประเทศ

ไทยเป็นฤดูฝน

• ประเทศไทยไดร้ ับผลจากมรสุม ว 3.2 ป.6/5

ตะวันออกเฉียงเหนอื ในชว่ งประมาณ อ ธ ิ บ า ย ผ ล ข อ ง

กลางเดอื นตุลาคมจนถึงเดอื น มรสุมต่อการเกิด

กมุ ภาพันธ์ ซ่งึ เปน็ ช่วงที่โลกเอียง ฤดูของประเทศ

ข้วั โลกเหนือออกจากดวงอาทิตย์ ทำ ไทยจากข้อมูลท่ี

ใหอ้ ากาศทางซีกโลกเหนือมอี ณุ หภมู ิ รวบรวมได้

ต่ำกว่าอากาศทางซกี โลกใต้ อากาศ

ทางซีกโลกใต้จงึ เคลอ่ื นท่ีสงู ข้นึ และ

อากาศทางซีกโลกเหนอื จะเคลื่อนเข้า

มาแทนท่ี ซง่ึ จะพัดพาอากาศทมี่ ี

อณุ หภมู ติ ่ำและมีความชนื้ นอ้ ยไปยงั

ประเทศทีพ่ ัดผา่ น ประเทศไทยไดร้ ับ

ผลจากมรสุมดังกล่าว ซ่ึงจะพัดผ่าน

ประเทศไทยไปยงั พื้นมหาสมทุ รทาง

ซีกโลกใต้ ทำให้ช่วงเวลานข้ี อง

ประเทศไทยเป็นฤดหู นาว

• ประเทศไทยไดร้ ับผลจากมรสุมลดลง

ในช่วงประมาณกลางเดอื น

กุมภาพันธจ์ นถงึ กลางเดอื น

สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

[NEW] สรุปเนื้อหา วิชาวิทยาศาสตร์ ม.ปลาย Pages 201 – 250 – Flip PDF Download | เนื้อหา วิทยาศาสตร์ ม 1 ส สว ท – NATAVIGUIDES

No Text Content!

196 9. รบั ประทานขา วกระเพราไก 1 จาน ไดรับสารอาหารอะไร ก. คารโ บไเดรต, โปรตนี , ไขมัน ข. ไขมนั , วติ ามนิ , คารโบไฮเดรต ค. โปรตีน, ไขมัน, นํ้า ง. โปรตีน, ไขมัน 10. การรบั ประทานอาหารถกู หลกั โภชนาการรางกายจะไดร ับประโยชนจากขอ ใดมากท่สี ดุ ก. อายยุ ืนมากขน้ึ ข. รา งกายเจริญเติบโต มีความตา นทานโรคสูง ค. สขุ ภาพจิตดี สดชน่ื แจมใส ง. มีประสทิ ธภิ าพในการทาํ งานสูง วอ งไว 11. หนวยยอ ยของไขมนั คืออะไร ก. กรดไขมนั ข. กลูโคส ค. ไลปด ง. กรดไขมัน และกลีเซอรอล 12. วิตามินทีล่ ะลายในไขมนั คือ ก. C และ D ข. A D E และ K ค. A และ C ง. K และ B2

197 บทที่ 10 ปโ ตรเลยี มและพอลิเมอร สาระสาํ คญั การเกิดปโตรเลียม แหลงปโตรเลียม การกลั่นปโตรเลียมและผลิตภัณฑปโตรเลียม ประโยชน และผลจากการใชปโตรเลียม การเกดิ และสมบตั ิของพอลเิ มอร พอลิเมอรในชีวิตประจําวนั การเกิด และผลกระทบจากการใชพลาสติก ยางธรรมชาติ ยางสังเคราะห เสนใย ธรรมชาตแิ ละเสน ใยสังเคราะห ผลการเรยี นรทู ีค่ าดหวัง 1. อธิบายหลักการกล่ันปโตรเลียมโดยวิธีการกล่ันแบบลําดับสวน ผลิตภัณฑและ ประโยชนข องผลิตภัณฑปโตรเลยี ม ผลกระทบจากการใชผลิตภัณฑป โ ตรเลยี ม 2. อธิบาย ความหมาย ประเภท ชนิดการเกิดและสมบัติของพอลิเมอร พอลิเมอร ในชวี ติ ประจําวัน ผลกระทบจากการใชพ ลาสติก ยางธรรมชาติ ยางสังเคราะห เสนใยธรรมชาติ และเสน ใยสงั เคราะห ขอบขายเน้ือหา เร่ืองที 1 ปโ ตรเลยี ม เรอื่ งที 2 พอลิเมอร

198 บทที่ 10 ปโตรเลียมและพอลิเมอร เร่ืองที่ 1 ปโตรเลียม ปโตรเลียม (Petroleum) มาจากรากศัพทภาษาละติน 2 คํา คือ เพทรา (Petra) แปลวาหนิ และโอลิอุม(Oleum) แปลวานาํ้ มนั รวมกันแลวมีความหมายวา นํ้ามันท่ีไดจากหิน ปโตรเลียมเปนสารผสมของสารประกอบไฮโดรคารบอนและสารอินทรียห ลายชนิดท่ีเกิด ตามธรรมชาติท้งั ในสถานะของเหลวและแกส ไดแก นํ้ามันดิบ (Crude oil) และแกสธรรมชาติ (Natural gas) น้ํามนั ดิบ (Crude oil) เปนของเหลว ประกอบดว ยสารไฮโดรคารบอนชนิดระเหยงาย เปน สว นใหญ ท่ีเหลอื เปนสารกํามะถนั ไนโตรเจน และสารประกอบออกไซดชนิดอื่น น้ํามันดิบ จากแหลงกําเนิดตางกันอาจมีสมบัติทางกายภาพแตกตางกัน อาจมีลักษณะขนเหนียวจนถึง หนืดคลายยางมะตอย มีสีเหลอื ง เขียว นํา้ ตาลจนถงึ ดํา มีความหนาแนน 0.79-0.97 g/cm3 แกสธรรมชาติ (Natural gas) เปนปโตรเลียมท่ีอยูในรูปของแกส ณ อุณหภูมิและ ความกดดนั ทผี่ วิ โลก แกส ธรรมชาติประกอบดวยสารไฮโดรคารบอนเปนหลัก อาจมีสัดสวนสูง ถงึ รอ ยละ 95 สว นที่เหลือ ไดแก ไนโตรเจนและคารบอนไดออกไซด บางคร้ังจะพบไฮโดรเจน ซัลไฟดปะปนอยูดวยแกสธรรมชาติอาจมีสถานะเปนของเหลว เรียกวา แกสธรรมชาติเหลว (Condensate) ประกอบดวยไฮโดรคารบอนเชนเดียวกับแกสธรรมชาติ แตมีจํานวนอะตอม คารบ อนมากกวา เมื่ออยูในแหลงกักเก็บใตผิวโลกท่ีลึกและมีอุณหภูมิสูงมาก จะมีสถานะเปน แกส แตเมื่อนําข้ึนมาท่ีระดับผิวดินซึ่ง มีอุณหภูมิตํ่ากวา ไฮโดรคารบอนจะกลายสภาพเปน ของเหลว

199 ตารางที่ 1.1 แสดงปริมาณธาตอุ งคป ระกอบของนํา้ มนั ดบิ และแกส ธรรมชาติ ชนดิ ของปโ ตรเลยี ม ปริมาณเปน รอ ยละโดยมวล นา้ํ มนั ดบิ CHS N แกส ธรรมชาติ 0.1-1 82-87 12-15 0.1-1.5 1-15 65-80 1-25 0.2 การกาํ เนดิ ปโ ตรเลยี ม ปโตรเลยี มเกดิ จากการทับถมและสลายตัวของอินทรียสารจากพืชและสัตวท่ีคลุกเคลา อยูก บั ตะกอนในช้นั กรวดทรายและโคลนตมใตพื้นดิน เมื่อเวลาผานไปนับลานปตะกอนเหลาน้ี จะจมตวั ลงเน่อื งจากการเปลย่ี นแปลงของผวิ โลก การถูกอัดแนนดวยความดันและความรอนสูง และมีปริมาณออกซิเจนจํากัด จึงสลายตัวกลายเปนแกสธรรมชาติและนํ้ามันดิบแทรกอยู ระหวางช้นั หนิ ทีม่ รี พู รนุ ป โ ต ร เ ลี ย ม จ า ก แ ห ล ง กํ า เ นิ ด ต า ง กั น จ ะ มี ป ริ ม า ณ ส า ร ป ร ะ ก อ บ ไ ฮ โ ด ร ค า ร บ อ น สารประกอบกาํ มะถนั ไนโตรเจน และออกซิเจนแตกตา งกนั โดยข้ึนอยูกับชนิดของซากพืชและ สตั วท่ีเปนตนกําเนิดอทิ ธิพลของแรงทีท่ ับถมอยบู นตะกอน แหลง กกั เกบ็ ปโ ตรเลยี ม ปโตรเลียมที่เกิดอยูในชั้นหินจะมีการเคล่ือนตัวออกไปตามรอยแตกและรูพรุนของหิน ไปสูร ะดบั ความลกึ ทนี่ อยกวา แลวสะสมตัวอยใู นโครงสรา งหนิ ทีม่ รี พู รนุ มีโพรง หรอื รอยแตกใน เนื้อหิน ที่สามารถใหปโตรเลียมสะสมตัวอยูได ดานบนเปนหินตะกอนหรือหินดินดาน เน้ือแนนละเอียดปดก้ันไมใหปโตรเลียมไหลลอดออกไปได โครงสรางปดกั้นดังกลาวเรียกวา แหลง กักเกบ็ ปโตรเลยี ม

200 รปู ภาพที่ 1.1 แสดงแหลง กกั เกบ็ ปโตรเลียม การสํารวจปโตรเลียม การสํารวจปโ ตรเลียมทาํ ไดหลายวิธี ดังนี้ 1) การสาํ รวจทางธรณีวทิ ยา (Geology) โดยการทําแผนทีภ่ าพถา ยทางอากาศ 2) การสํารวจทางธรณีวิทยาพ้ืนผิว โดยการเก็บตัวอยางหิน ศึกษาลักษณะของหิน วเิ คราะหซ ากพชื ซากสัตวท อี่ ยูใ นหิน ผลจากการสํารวจทาํ ใหส ามารถทราบโครงสรางและชนิด ของหนิ ทีเ่ อ้ืออาํ นวยตอ การกกั เก็บปโ ตรเลยี มในบริเวณนน้ั 3) การสํารวจทางธรณีฟสิกส (Geophysics) โดยการวัดความเขมสนามแมเหล็กโลก ทาํ ใหท ราบถึงขอบเขต ความหนา ความกวางใหญของแอง และความลึกของช้ันหนิ การวัดคาความโนมถว งของโลก ทําใหทราบถึงชนิดของช้ันหินใตผิวโลกในระดับตาง ๆ ชวยในการกาํ หนดขอบเขตและรูปรางของแอง ใตผวิ ดิน การวัดคาความไหวสะเทือน (Seismic wave) ทําใหทราบตําแหนง รูปราง ลักษณะ และโครงสรา งของหนิ ใตด นิ 4) การเจาะสํารวจ เพ่ือใหทราบถึงความยากงายของการขุดเจาะปโตรเลียม และเพ่ือให ทราบวามีองคประกอบเปนนํ้ามันดิบ แกสธรรมชาติ สารเจือปนตางๆ เทาใด มีความคุมทุน ในเชงิ พาณชิ ยหรือไม นาํ มาใชประกอบการตัดสินใจในการขดุ เจาะปโ ตรเลียมขน้ึ มาใชต อไป

201 การสํารวจนา้ํ มนั ดิบในประเทศไทย มีการสํารวจน้ํามันดบิ คร้ังแรกใน พ.ศ. 2464 พบท่ี อาํ เภอฝาง จังหวดั เชยี งใหม และพบ แกสธรรมชาติทีม่ ีปริมาณมากพอในเชิงพาณชิ ย ทบ่ี ริเวณอา วไทยเมือ่ พ.ศ. 2516 แหลง น้าํ มันดบิ ใหญท ี่สุดของประเทศไทย ไดแก นํ้ามันดิบเพชร จากแหลงนํ้ามันสิริกิต์ิ ก่ิงอําเภอลานกระบอื จังหวดั กําแพงเพชร สวนแหลงผลิตแกสธรรมชาตทิ ใ่ี หญท ่สี ุดอยูในบริเวณ อา วไทย ช่ือวา แหลงบงกช เจาะสํารวจพบเมอื่ พ.ศ. 2523 แหลง สะสมปโตรเลยี มใหญที่สุดของโลกอยูที่บริเวณอาวเปอรเซีย รองลงมาคือบริเวณ อเมริกากลาง อเมริกาเหนือ และรัสเซีย สวนปโตรเลียมท่ีมีคุณภาพดีพบที่บริเวณประเทศ ไนจเี รียเพราะมปี ริมาณสารประกอบกาํ มะถนั ปะปนอยนู อยทีส่ ดุ หนวยวัดปริมาณปโ ตรเลียม หนว ยที่ใชว ดั ปรมิ าณน้าํ มันดิบคือบารเรล (barrel) โดยมีมาตราวดั ดังน้ี 1 บารเ รล มี 42 แกลลอน หรือ 158.987 ลิตร หนว ยท่ีใชว ัดปรมิ าตรของแกส ธรรมชาติ นยิ มใชหนวยวัดเปน ลูกบาศกฟ ตุ ทอ่ี ณุ หภมู ิ 60 องศาฟาเรนไฮด (15.56 องศาเซลเซียส) และความดนั 30 นวิ้ ของปรอท ข้นั ตอนการกล่นั นาํ้ มนั ดบิ น้ํามันดิบเปนของผสมของสารประกอบไฮโดรคารบอนหลายชนิด ดังนั้น การกลั่น น้ํามันดิบจึงใชวิธีการกล่ันแบบลําดับสวน (Fractional distillation) โดยการกลั่นแบบลําดับ สว นเปนวิธกี ารแยกสารผสมออกจากกันใหอยูใ นรูปขององคประกอบยอย อาศัยความแตกตาง กันของจดุ เดือด (Boiling point) ดวยการใหค วามรอนกับสารประกอบน้ัน สารประกอบแตละ ตวั จะถกู แยกออกมาทค่ี วามดนั ไอแตกตางกนั ซ่ึงมขี ั้นตอนดังตอ ไปนี้ 1) กอ นการกลน่ั ลาํ ดับสวน ตองแยกนาํ้ และสารประกอบตาง ๆ ออกจากนํ้ามันดิบกอน จนเหลอื แตสารประกอบไฮโดรคารบ อนเปน สวนใหญ 2) สงสารประกอบไฮโดรคารบอนผานทอเขาไปในเตาเผาที่มีอุณหภูมิระหวาง 320 – 385 oC น้ํามันดบิ ทีผ่ านเตาเผาจะมีอุณหภูมิสูง จนบางสวนเปลี่ยนสถานะเปนไอปนไป กบั ของเหลว 3) สงสารประกอบไฮโดรคารบ อนทั้งท่ีเปนของเหลว และไอผา นเขาไปในหอกลั่น ซึ่งหอ กล่นั เปน หอสูงประมาณ 30 เมตร รปู รา งทรงกระบอก และมขี นาดเสน ผานศนู ยกลางประมาณ

202 2.5 – 8 เมตร ภายในหอกล่ันประกอบดวยชน้ั เรียงกันหลายสิบช้ัน แตละช้ันมีอุณหภูมิแตกตาง กัน ช้ันบนจะมีอุณหภูมิตํ่า สวนช้ันลางจะมีอุณหภูมิสูง ดังน้ันสารประกอบไฮโดรคารบอนท่ีมี มวลโมเลกลุ ตํ่าและจุดเดือดตํ่าจะระเหยข้ึนไปและควบแนนเปนของเหลว บริเวณสวนบนของ หอกล่ัน สว นสารประกอบไฮโดรคารบ อนทม่ี มี วลโมเลกุลสงู และจดุ เดอื ดสูงกวาจะควบแนนเปน ของเหลวอยใู นช้ันตํ่าลงมาตามชว งอณุ หภูมิของจดุ เดือด สารประกอบไฮโดรคารบอนบางชนิดที่ มีจุดเดือดใกลเคียงกันจะควบแนนปนออกมาชั้นเดียวกัน ดังนั้น การเลือกชวงอุณหภูมิในการ เกบ็ ผลิตภัณฑจ งึ ขนึ้ ยกู บั วตั ถปุ ระสงคของการใชงานผลติ ภัณฑนนั้ สารประกอบไฮโดรคารบ อนที่มมี วลโมเลกุลสงู มาก เชน น้าํ มันเตา นา้ํ มันหลอ ล่นื และ ยางมะตอย ซ่ึงมจี ดุ เดือดสงู จงึ ยังคงเปนของเหลวในชว งอุณหภูมิของการกล่นั และจะถกู แยกอยู ในชน้ั ตอนลา งของหอกล่นั รปู ภาพท่ี 1.2 แสดงกระบวนการกลนั่ แบบลําดับสวนทนี่ าํ มาใชใ นอุตสาหกรรมปโตรเลยี ม

203 รปู ภาพที่ 1.3 แสดงภาพจาํ ลองหอกลน่ั ของกระบวนการกลน่ั ปโ ตรเลยี ม ผลติ ภณั ฑท ่ีไดจากการกลนั่ ปโตรเลยี ม ผลิตภัณฑจากการกลั่นน้ํามันปโตรเลียม เรียกวา สารประกอบไฮโดรคารบอน ซ่ึงประกอบดวยธาตุไฮโดรเจน และคารบอน จํานวนแตกตางกัน มีต้ังแตโมเลกุลท่ีมีคารบอน 1 อะตอมข้ึนไป จนถึงโมเลกุลท่ีมีคารบอน 50 อะตอม ถาโมเลกุลท่ีมีจํานวนคารบอน 1-4 อะตอมจะมสี ถานะเปน แกส เม่ือจาํ นวนคารบอนเพิ่มขน้ึ สถานะจะเปน ของเหลวและมีความขน เหนียวมากข้ึนตามลําดับ ซ่ึงโมเลกุลเหลาน้ีนํามาใชประโยชนในทางอุตสาหกรรมแตกตางกัน ดังตารางตอไปนี้

204 ตารางท่ี 1.2 แสดงผลติ ภัณฑทไ่ี ดจากการกลัน่ ปโตรเลียม คณุ สมบัตแิ ละการใชประโยชน ผลติ ภณั ฑท ี่ได จุดเดอื ด (OC) สถานะ จาํ นวน C การใชประโยชน 1 – 4 ทาํ สารเคมี วัสดสุ ังเคราะห แกสปโ ตรเลยี ม < 30 แกส เชอ้ื เพลิงแกสหงุ ตม แนฟทาเบา 30 – 110 ของเหลว 5 – 7 นาํ้ มันเบนซิน ตวั ทาํ ละลาย แนฟทาหนกั 65 – 170 ของเหลว 6 – 12 นา้ํ มนั เบนซิน แนฟทาหนกั นา้ํ มันกา ด 170 – 250 ของเหลว 10 – 19 น้ํามันกาด เชอื้ เพลิง นํา้ มนั ดเี ซล 250 – 340 ของเหลว เครอ่ื งยนตไ อพน และ นํ้ามันหลอ ลนื่ > 350 ของเหลว ตะเกียง ไข > 500 ของแขง็ 14– 19 เชื้อเพลิงเคร่ืองยนตดเี ซล 19 – 35 นํา้ มันหลอ ลนื่ นาํ้ มนั เคร่อื ง นาํ้ มันเตา > 500 ของเหลว > 35 ใชทําเทียนไข เครอ่ื งสาํ อาง ยางมะตอย > 500 หนืด ยาขดั มนั ผลิตผงซกั ฟอก ของเหลว > 35 เชือ้ เพลงิ เครอ่ื งจกั ร หนดื > 35 ยางมะตอย เปน ของแข็งท่ี ออ นตัวและเหนียวหนืดเม่ือ ถูกความรอ น ใชเ ปนวัสดุ กันซึม

205 ผลกระทบของการใชปโตรเลยี ม การเผาไหมปโ ตรเลยี มจะกอ ใหเ กิดมลภาวะทางอากาศ โดยการปลอยไอเสยี ออกมาจาก ปลองควันของโรงงานอุตสาหกรรม โรงจักรไฟฟาและจากรถยนต สารมลพิษดังกลาวคือ กาซซัลเฟอรไดออกไซด(SO2) กาซไนโตรเจนออกไซด (NO) กาซคารบอนมอนอกไซด (CO) สารไฮโดรคารบอนและฝนุ ละออง เขมาตางๆ ภาวะมลพษิ ทเี่ กิดจากการผลิตและการใชผลิตภัณฑปโตรเลยี ม สาเหตุการเกดิ มลพษิ มลพษิ จะเกิดไดใ นหลายรปู แบบ สว นใหญม ีสาเหตมุ าจาก 2 ประการคือ 1) การเพ่ิมของจํานวนประชากร 2) เทคโนโลยี ซ่ึงจากสาเหตุดังกลาวจะกอใหเกิดภาวะมลพิษในหลายดาน เชน ภาวะมลพิษทางนํ้า ภาวะมลพษิ ทางอากาศ เปน ตน การเกิดภาวะมลพษิ ทางนํา้ สาเหตกุ ารเกดิ ภาวะมลพษิ ทางนํา้ ท่สี าํ คญั มี 4 ประการ ไดแก 1. เกดิ จากสารแขวนลอย สารแขวนลอย คอื สารผสมของสสารตา งชนิดกันทีไ่ มเปนเนื้อ เดยี วกันและมอี นภุ าคใหญก วา 1 ไมโครเมตร (1000 นาโนเมตร) 2. เกิดจากเชอื้ โรคที่มากับนํา้ เชน โรคฉห่ี นู โรคเทาเปอ ย 3. เกิดจากปริมาณ O2 ในนํ้า ออกซิเจนในนํ้ามีความสําคัญตอการดํารงชีวิตของสัตว และพชื ในน้ํา ปริมาณการละลายของออกซิเจนในนํ้าเปนตัวบงบอกคุณภาพของนํ้าในแหลงนํ้า นั้น ถาหากปริมาณออกซิเจนนอยผิดปกติ แสดงวานํ้าเสียสงผลใหส่ิงมีชีวิตตาง ๆ ไมสามารถ อาศัยอยูในแหลงนํา้ น้ันได ออกซเิ จนทีล่ ะลายอยูในนํ้ามาจากอากาศเปน แหลง สาํ คัญ 4. เกิดจากสารเคมีในนํ้าจําพวกสารโลหะหนัก เชน เหล็ก ตะก่ัว ปรอท แคดเมียม เปน ตน

206 การเกดิ ภาวะมลพษิ ทางอากาศ สาเหตุการเกดิ ภาวะมลพษิ ทางอากาศท่ีสําคญั มี 4 ประการ ไดแ ก 1. เกิดจากกาซหรือไอของสารอินทรีย เชน ไอระเหยของนํ้ามันเบนซินจะทําลาย ไขกระดูกเมด็ เลอื ดแดงแตก ทาํ ใหเ กิดภาวะโรคโลหิตจาง และโรคทางประสาทสวนกลาง 2. เกิดจากสารโลหะหนกั ผลของความเปนพิษของโลหะหนักในส่ิงมีชีวิตเกิดจากกลไก ระดับเซลล 5 แบบ คอื 2.1 ทาํ ใหเ ซลลตาย 2.2 เปลย่ี นแปลงโครงสรา งและการทาํ งานของเซลล 2.3 เปนตวั การชกั นําใหเกดิ มะเร็ง 2.4 เปน ตัวการทําใหเ กิดความผดิ ปกตทิ างพันธุกรรม 2.5 ทาํ ความเสยี หายตอโครโมโซมซ่งึ เปน ปจจัยทางพันธกุ รรม 3. เกิดจากฝุนละออง ฝุนละอองขนาดเล็กจะมีผลกระทบตอสุขภาพเปนอยางมาก เม่ือหายใจเขาไปในปอดจะเขาไปอยูในระบบทางเดินหายใจสวนลาง โดยเฉพาะผูปวยสูงอายุ ผปู วยโรคหวั ใจ โรคหดื หอบ 4. เกดิ จากสารกัมมันตรงั สี กา ซที่กอ ใหเ กดิ มลพษิ ทางอากาศมีหลายชนิด เชน CO CO2 SO2 NO NO2 เปนตน นอกจากน้ีอาจเปนพวกสารประกอบไฮโดรคารบอนที่มีพันธะคูรวมกับ O2 ในอากาศไดส ารพวกที่มีกลิ่นเหม็น จําพวกสารประกอบอัลดีไฮด แตถามี NO2 รวมอยูดวย จะเกิดสารประกอบ Proxy acyl nitrate (PAN) ทาํ ใหเ กดิ การระคายเคืองตอระบบหายใจ

207 เร่อื งที่ 2 พอลเิ มอร พอลิเมอร (Polymer) เปนสารที่สามารถพบไดในส่ิงมีชีวิตทุกชนิด มีลักษณะเปน โมเลกุลขนาดใหญ ซึ่งเกิดจากโมเลกุลพ้ืนฐานท่ีเรียกวา มอนอเมอร (Monomer) จํานวนมาก มาสรา งพนั ธะเชอ่ื มตอ กนั ดว ยพนั ธะโคเวเลนต1 โดยพอลิเมอรบางชนิดอาจเกิดจากมอนอเมอร ที่เปนชนิดเดียวกันท้ังหมดมาเช่ือมตอกัน เชน แปง และพอลิเอทิลีน เปนตน แตในบางชนิดก็ อาจเกิดขึ้นจากมอนอเมอรท่ีแตกตางกันมาเชื่อมตอกันก็ได ตัวอยางเชน พอลิเอสเทอร และ โปรตีน เปนตน ในปจจุบันพอลิเมอรไดเขามามีบทบาทตอการดําเนินชีวิตของมนุษยและกระบวนการ อุตสาหกรรมตาง ๆ อยางมาก โดยตัวอยางของพอลิเมอรท่ีเปนท่ีรูจักอยางกวางขวางและมี การใชป ระโยชนกันมาก ไดแ ก พลาสตกิ เสนใยสังเคราะห และยางพารา เปนตน ประเภทของพอลเิ มอร 1. พิจารณาตามแหลง กําเนิด สามารถแบง ออกเปน 2 ชนิด คือ 1.1 พอลิเมอรธรรมชาติ (Natural Polymers) เปนพอลิเมอรท่ีเกิดขึ้นเองตาม ธรรมชาติ สามารถพบไดในสง่ิ มีชวี ติ ทุกชนดิ ไดแ ก โปรตนี แปง เซลลโู ลส ไกลโคเจน กรดนิวคลีอิกและยางธรรมชาติ เปน ตน 1.2 พอลิเมอรสังเคราะห (Synthetic Polymers) เกิดจากการสังเคราะหขึ้น โดยมนุษย ดวยวิธีการนําสารมอนอเมอรจํานวนมากมาทําปฏิกิริยาเคมีภายใตสภาวะท่ี เหมาะสม ไดแก พลาสติก ไนลอน ดาครอน และลูไซต เปนตน 2. พิจารณาตามชนิดของมอนอเมอรท่ีเปนองคประกอบ สามารถแบงออกเปน 2 ชนดิ คอื 2.1 โฮมอพอลเิ มอร (Homopolymer) คอื พอลเิ มอรที่ประกอบดวยมอนอ- เมอรชนิดเดียวกัน เชน แปง ประกอบดวยมอนอเมอรท ี่เปนกลูโคสท้งั หมด พอลเิ อทิลีน หรือ PVC ประกอบดวยมอนอเมอรท เี่ ปนเอทลิ นี ทง้ั หมด เปน ตน 1 พนั ธะโคเวเลนต คอื พนั ธะท่ีเกิดขนึ้ อันเนอ่ื งมาจากอะตอม 2 อะตอม นําอิเล็คตรอนมาใชรว มกัน

208 2.2 โคพอลิเมอร (Copolymer) คือ พอลเิ มอรท่เี กดิ จากมอนอเมอรม ากกวา 1 ชนดิ ขึ้นไป เชน โปรตนี ซึ่งเกิดจากกรดอะมิโนทม่ี ีลกั ษณะตาง ๆ มาเช่อื มตอ กนั และพอลเิ อส เทอร เปน ตน 3. พจิ ารณาตามโครงสรางของพอลิเมอร สามารถแบง ออกเปน 3 ชนิด คือ 3.1 พอลิเมอรแบบเสน (Chain length polymer) เปน พอลเิ มอรท ่ีเกดิ จาก มอนอเมอรส รางพันธะตอ กนั เปน สายยาว โซพอลิเมอรเรียงชิดกันมากกวาโครงสรางแบบอื่น ๆ จึงมีความหนาแนน และจุดหลอมเหลวสูง มีลักษณะแข็ง ขุนเหนียวกวาโครงสรางแบบอื่น ๆ ตวั อยางเชน PVC พอลสิ ไตรีน พอลเิ อทิลีน เปนตน แสดงดงั ภาพ 3.2 พอลิเมอรแบบก่ิง (Branched polymer) เปนพอลิเมอรที่เกิดจากมอนอ เมอรมายึดกันแตกก่ิงกานสาขา มีทั้งโซส้ัน และโซยาว กิ่งที่แตกจากพอลิเมอรของโซหลักไม สามารถจัดเรยี งโซพ อลิเมอรใ หชิดกันไดมาก จึงมีความหนาแนนและจุดหลอมเหลวตํ่ายืดหยุน ได ความเหนยี วต่ํา โครงสรา งเปลย่ี นรปู ไดง า ยเมอื่ อณุ หภูมิเพม่ิ ข้ึน แสดงดงั ภาพ

209 3.3 พอลเิ มอรแ บบรางแห (Croos -linking polymer) เปน พอลิเมอรท่ีเกิดจาก มอนอเมอรมาตอเช่ือมกันเปนรางแห พอลิเมอรชนิดน้ีมีความแข็งแกรง และเปราะหักงาย ตวั อยางเชน เบกาไลต เมลามนี ทใ่ี ชท ําถว ยชาม แสดงดงั ภาพ ชนิดของพอลเิ มอร เม่ือพจิ ารณาการเชอ่ื มโยงระหวางสายโซโ มเลกลุ (crosslinking) เราสามารถแบง ชนิด ของพอลเิ มอรไดเ ปน 3 ชนดิ ดังน้ี 1. Thermoplastic polymers เปน พอลเิ มอรสายตรงหรือก่ิง ไมมีการเช่ือมโยงระหวางสาย โซโ มเลกุล สง ผลใหสายโซโมเลกุลขยับตัวงายเมื่อไดรับแรงหรือความรอน สามารถหลอมและ ไหลไดเม่ือไดรับความรอน เปนสวนประกอบหลักในพลาสติกออน เชน Polyethylene ในถุงพลาสติก 2. Elastomers เปนพอลเิ มอรท ม่ี กี ารเช่ือมโยงระหวางสายโซโ มเลกลุ เลก็ นอ ย ซึง่ ทาํ หนา ท่ดี งึ สายโซโ มเลกุลกลับมาใหอ ยูในสภาพเดมิ เมื่อปลอ ยแรงกระทาํ 3. Thermosetting polymers เปนพอลิเมอรที่มีการเช่ือมโยงระหวางสายโซโมเลกุล อยางหนาแนน สงผลใหสายโซโมเลกุลขยับตัวยากเมื่อไดรับแรงหรือความรอน วัสดุที่มี พอลิเมอรชนิดนี้เปนองคประกอบหลัก จึงรับแรงไดดี และไมหลอมเหลวเม่ือไดรับความรอน อยางไรก็ตาม เม่ือความรอนสูงถึงอุณหภูมิสลายตัว (Degradation temperature) วัสดุ จะสลายตัวไปเน่ืองจากพันธะเคมีแตกหัก พอลิเมอรชนิดน้ีเปนสวนประกอบหลักใน พลาสตกิ แข็ง เชน ถว ยชามเมลามนี หลังคาไฟเบอร เปนตน

210 พอลเิ มอรท ใ่ี ชในชวี ิตประจาํ วัน 1. พลาสตกิ พลาสติก (Plastic) คือ สารประกอบอินทรียที่สังเคราะหขึ้นเพ่ือใชแทนวัสดุจาก ธรรมชาติสามารถทําใหเปนรูปตาง ๆ ไดดวยความรอน พลาสติกเปนพอลิเมอรขนาดใหญ มวลโมเลกุลมาก บางชนดิ เมื่อเยน็ ก็แขง็ ตวั เม่อื ถกู ความรอ นก็ออ นตัว บางชนิดแข็งตัวถาวร สมบตั ทิ ่ัวไปของพลาสติก 1) มคี วามเสถียรมากในธรรมชาติ สลายตวั ยาก มมี วลนอย และเบา 2) เปนฉนวนความรอนและไฟฟาทีด่ ี 3) สว นมากออ นตัวและหลอมเหลวเมื่อไดรับความรอน จึงเปล่ียนเปนรูปตางๆ ไดตาม ประสงค ประเภทของพลาสตกิ พลาสติกแบงออกเปน 2 ประเภท คือ เทอรโมพลาสติก และ เทอรโมเซตติงพลาสติก 1) เทอรโมพลาสติก (Thermoplastic) หรือเรซิน เปนพลาสติกที่ใชกันแพรหลายท่ีสุด เมือ่ ไดรบั ความรอ นจะออนตวั และเมื่อเยน็ ลงจะแข็งตัว สามารถเปล่ียนรูปได พลาสติกประเภทน้ี มีโครงสรางโมเลกุลเปนโซตรงยาว มีการเช่ือมตอระหวางโซพอลิเมอรนอยมาก จึงสามารถ หลอมเหลวใหมไ ด หรอื เม่ือผา นการอัดแรงมากจะไมสามารถทาํ ลายโครงสรางเดิม ตัวอยางเชน พอลิเอทลิ ีน โพลโิ พรพิลีน พอลสิ ไตรีน โครงสรางของเทอรโ มพลาสตกิ (Thermoplastic)

211 2) เทอรโมเซตตงิ พลาสติก (Thermosetting plastic) เปน พลาสตกิ ทีม่ ีสมบัติพิเศษ คือ ทนทานตอการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิและทนปฏิกิริยาเคมีไดดี เกิดคราบและรอยเปอนไดยาก คงรปู หลังการผา นความรอ นหรอื แรงดนั เพยี งครัง้ เดยี ว เมอ่ื เย็นลงจะแข็งมาก ทนความรอนและ ความดัน ไมออนตัวและเปลี่ยนรูปรางไมได แตถาอุณหภูมิสูงก็จะแตกและไหมเปนข้ีเถาสีดํา พลาสติกประเภทนโี้ มเลกลุ จะเชื่อมโยงกันเปนรา งแหจับกนั แนน แรงยึดเหน่ียวระหวางโมเลกุล แข็งแรงมาก จงึ ไมส ามารถนํามาหลอมเหลวใหมไ ด โครงสรา งของเทอรโมเซตตงิ พลาสตกิ (Thermosetting plastic) ตารางท่ี 2.1 แสดงสมบตั บิ างประการของพลาสตกิ บางชนดิ ชนดิ ของ ประเภทของ สมบัตบิ างประการ ตวั อยางการ พลาสตกิ พลาสตกิ สภาพการไหมไฟ ขอสงั เกตอนื่ นําไปใชประโยชน พอลิเอทลิ ีน เทอรโม เปลวไฟสนี ํ้าเงินขอบ เล็บขีดเปน ถุง ภาชนะ ฟล ม พลาสติก เหลือง กลิ่นเหมอื น รอย ไมละลาย ถายภาพ พาราฟน เปลวไฟไม ในสารละลาย ของเลน เดก็ ดบั เอง ทั่วไปลอยนํา้ ดอกไม พลาสตกิ พอลโิ พรพลิ ีน เทอรโ ม เปลวไฟสีนํา้ เงินขอบ ขีดดวยเล็บ โตะ เกา อี้ เชอื ก พลาสติก เหลอื ง ควนั ขาว ไมเ ปน รอย พรม บรรจภุ ัณฑ กล่นิ เหมอื นพาราฟน ไมแตก อาหาร ช้นิ สว น รถยนต พอลิสไตรีน เทอรโม เปลวไฟสีเหลอื ง เปราะ ละลาย โฟม พลาสติก เขมามาก ไดในคารบอน อุปกรณไ ฟฟา

212 ชนิดของ ประเภทของ สมบตั บิ างประการ ตัวอยา งการ พลาสตกิ พลาสตกิ สภาพการไหมไ ฟ ขอ สงั เกตอื่น นําไปใชประโยชน กล่ินเหมือนกา ซจดุ เตตระคลอไรด เลนส ของเลนเด็ก และโทลอู นี อปุ กรณกฬี า ตะเกยี ง ลอยนาํ้ เครื่องมอื ส่อื สาร พอลวิ นิ ิลคลอ เทอรโ ม ติดไฟยาก เปลวสี ออ นตัวได กระดาษตดิ ผนัง ไรด พลาสตกิ เหลือง ขอบเขียว คลา ยยาง ภาชนะบรรจุ ควันขาว กลิ่นคลาย ลอยนํ้า สารเคมี รองเทา กรดเกลอื กระเบ้อื งปูพน้ื ฉนวนหุม สายไฟ ทอพีวีซี ไนลอน เทอรโม เปลวไฟสนี าํ้ เงินขอบ เหนียว เครอ่ื งนุงหม พลาสติก เหลือง กลิน่ คลาย ยดื หยุน ถงุ นองสตรี เขาสัตวต ดิ ไฟ ไมแตก จมนํ้า พรม อวน แห ตารางที่ 2.1 แสดงสมบตั ิบางประการของพลาสติกบางชนดิ ชนิดของ ประเภทของ สมบัตบิ างประการ ตวั อยางการ พลาสตกิ พลาสตกิ สภาพการไหมไฟ ขอสงั เกตอนื่ นาํ ไปใชประโยชน พอลยิ เู รีย เทอรโมเซต ตดิ ไฟยากเปลวสี แตกรา ว เตาเสยี บไฟฟา ฟอรมาลดไี ฮด ตงิ พลาสตกิ เหลอื งออ น ขอบฟา จมน้ํา วสั ดเุ ชิงวิศวกรรม แกมเขียวกลิน่ แอมโมเนยี อีพอกซี เทอรโ มเซต ตดิ ไฟงาย เปลวสี ไมละลายใน กาว สี สารเคลอื บ ตงิ พลาสตกิ เหลือง ควนั ดํา กลน่ิ สาร ผวิ หนาวตั ถุ คลายขาวคว่ั ไฮโดรคารบอน และน้ํา

213 ชนิดของ ประเภทของ สมบตั บิ างประการ ตวั อยางการ พลาสตกิ พลาสตกิ สภาพการไหมไ ฟ ขอ สังเกตอืน่ นาํ ไปใชป ระโยชน เทอรโ มเซต ตดิ ไฟยาก เปลวสี ออ นตวั เสน ใยผา ติงพลาสตกิ เหลือง ควนั กลน่ิ ฉุน ยดื หยุน พอลเิ อสเทอร เทอรโ มเซต ติดไฟยาก เปลวสี เปราะ หรือ ตัวถังรถยนต ตงิ พลาสตกิ เหลือง ควนั ดาํ กลน่ิ แขง็ เหนียว ตวั ถงั เรอื ใชบุภายใน ฉุน เครอื่ งบนิ 2. ยางธรรมชาตแิ ละยางสงั เคราะห 2.1 ยางธรรมชาติ คือวัสดุพอลิเมอรที่มีตนกําเนิดจากของเหลวของพืชบางชนิด ซ่ึงมีลักษณะเปนของเหลวสีขาว คลายน้ํานม มีสมบัติเปนคอลลอยด2 อนุภาคเล็ก มีตัวกลาง เปนน้าํ ประวตั ิยางธรรมชาติ ยางธรรมชาติเปนน้ํายางจากตนไมยืนตน มีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งคือยางพารา หรอื ตนยางพารา ยางพารามถี ่ินกําเนิดบริเวณลุมแมนํ้าอเมซอน ประเทศบราซิล และประเทศ เปรู ในทวปี อเมริกาใต ซึ่งชาวอินเดียนแดงเผามายัน ในอเมริกากลาง เปนผูนํายางพารามาใช กอ นป พ.ศ. 2000 โดยการจมุ เทา ลงในน้าํ ยางดิบเพื่อทําเปนรองเทา สวนเผาอ่ืน ๆ ก็นํายางไป ใชประโยชน ในการทําผากันฝน ทาํ ขวดใสนา้ํ และทําลูกบอลยาง เพื่อใชเลนเกมสตางๆ เปนตน จนกระท่งั ครสิ โตเฟอร โคลมั บัสไดเดินทางมาสํารวจทวีปอเมริกาใต ในระหวางป พ.ศ. 2036 – 2 สารคอลลอยด (Colloid) เปนสารท่ีประกอบดวยอนุภาคท่ีกระจายในตัวกลางโดยมีขนาด เสนผาศูนยกลางระหวาง 10 – 10 เซนติเมตร ซ่ึงมีขนาดอนุภาคใหญกวาสารละลายจึงมีลักษณะขุน ในขณะท่ีสารละลายมีลักษณะใส อนภุ าคในคอลลอยด เปรียบเสมือนตัวถกู ละลาย และตวั กลาง ในคอลลอยดเปรียบเสมอื นตวั ทาํ ละลายในสารละลาย ลักษณะของคอลลอยด จะมีลักษณะขุนคลายกาว เชน นํา้ นม ฝุนละอองในอากาศ เปนตน

214 2039 และไดพ บกับชาวพ้ืนเมอื งเกาะเฮตทิ กี่ ําลงั เลนลูกบอลยางซึ่งสามารถกระดอนได ทําใหคณะ ผเู ดนิ ทางสาํ รวจประหลาดใจจงึ เรียกวา \”ลูกบอลผสี งิ \” การผลิตยางธรรมชาติ แหลงผลิตยางธรรมชาติที่ใหญท่ีสุดในโลกคือ แถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต คดิ เปนรอ ยละ 90 ของแหลง ผลิตท้ังหมด สวนทเ่ี หลือมาจากแอฟริกากลาง นา้ํ ยางที่กรีดไดจาก ตนจะเรียกวานํ้ายางสด (field latex) น้ํายางที่ไดจากตนยางมีลักษณะเปนเม็ดยางเล็ก ๆ กระจายอยูในนํ้า มีลักษณะเปนของเหลวสีขาว มีสภาพเปนคอลลอยด มีปริมาณของแข็ง ประมาณรอยละ 30-40 มีคา pH 6.5-7 มีความหนาแนนประมาณ 0.975-0.980 กรัมตอ มลิ ลิลิตร มคี วามหนดื 12-15 เซนตพิ อยส สว นประกอบในนาํ้ ยางสด แบงออกไดเ ปน 2 สวนคอื 1) สว นทเ่ี ปนเนอ้ื ยาง 35% 2) สว นท่ีไมใชย าง 65% โดยแบงออกเปน สวนท่ีเปน นํา้ 55% และสวนของ ลทู อยด 10% คณุ สมบตั ิของยางธรรมชาติ ยางธรรมชาติมีความยืดหยุนสูง มีสมบัติเย่ียมในดานการเหนียวติดกัน มีคา ความทนทานตอแรงดึงสูงมากโดยไมตองเติมสารเสริมแรงมีความทนตอการฉีกขาดสูงมากท้ัง ที่อุณหภูมิหองและอุณหภูมิสูง มีความตานทานตอการลาและการขัดถูสูง มีความเปนฉนวน ไฟฟา สูงมาก ยางดิบละลายไดด ใี นตวั ทาํ ละลายที่ไมมีขวั้ เชน เบนซิน เนื่องจากยางดิบไมมีขั้ว และไมทนตอน้ํามันปโตรเลียม แตทนตอของเหลวที่มี ข้ัว เชน อะซิโตน หรือแอลกอฮอล นอกจากน้ียังทนตอกรด และดางออนๆ แตไมทนตอกรด และดางเขมขน ไวตอการทําปฏิกิริยากับออกซิเจน ไมทนตอโอโซน การกระเดงกระดอนสูง อุณหภูมิใชงาน ตั้งแต 55 – 70 องศาเซลเซียส แตหากเก็บไวนานจะทําใหยางสูญเสีย ความยดื หยุนได 2.2 ยางสงั เคราะห ยางสังเคราะหไดมีการผลิตมานานแลว ตั้งแต ค.ศ. 1940 สาเหตุท่ีทําใหมีการ ผลิตยางสังเคราะหขึ้นในอดีต เนื่องจากการขาดแคลนยางธรรมชาติที่ใชในการผลิตอาวุธ ยุทโธปกรณและปญหาในการขนสง จากแหลงผลติ ในชว งสงครามโลกครง้ั ที่ 2 จนถึงปจจุบันไดมี

215 การพัฒนาการผลิตยางสังเคราะห เพือ่ ใหไดย างทมี่ ีคณุ สมบตั ติ ามตองการในการใชง านที่สภาวะ ตา ง ๆ เชน ที่สภาวะทนตอ น้าํ มนั ทนความรอ น ทนความเย็น เปน ตน การใชง านยางสงั เคราะหสามารถแบง ออกเปน 2 ประเภทคอื 1) ยางสําหรับงานทั่วไป (Commodity rubbers) เชน IR (Isoprene Rubber) BR (Butadiene Rubber) 2) ยางสําหรับงานสภาวะพิเศษ (Specialty rubbers) เชน การใชงานในสภาวะ อากาศรอนจัด หนาวจัด หรือสภาวะที่มีสัมผัสกับนํ้ามัน ไดแก Silicone, Acrylate rubber เปนตน การใชงานยางสังเคราะห ยางสังเคราะหนั้นเม่ือเทียบสมบัติเฉพาะตัวทาง ดานเทคนคิ กับยางธรรมชาตแิ ลว ยางสังเคราะหจ ะมีคุณสมบตั ิท่ีมคี วามทนทานตอการขัดถูและ การสึกกรอน (Abrasion Resistance) ท่ีดีกวามีความเสถียรทางความรอน (Thermal Stability) ที่สูงกวาทําใหยางสังเคราะหเส่ือมสภาพไดชากวายางธรรมชาติ ทั้งยังมียาง สังเคราะหอีกหลายชนิดท่ีสามารถคงความยืดหยุนไดแมอยูในอุณหภูมิท่ีต่ํา สามารถทนตอ น้ํามันและจาระบี รวมทั้งยังทนเปลวไฟไดดีซ่ึงเหมาะกับการนําไปใชทําเปนฉนวนในอุปกรณ อิเลก็ ทรอนิกสไ ดดว ย ดงั นนั้ ในปจจุบันยางสงั เคราะหจึงไดรับความนิยมมากกวายางธรรมชาติ ทั้งยังมีหลายชนิดใหเลือกเหมาะกับการใชงาน หลากหลายประเภท ตั้งแตการนํามาใชใน อตุ สาหกรรมยางรถยนต ใชผลติ เปน เคร่อื งมือแพทย หรือใชทาํ ชิ้นสว นแมพ มิ พ และสายพานใน เครอ่ื งจักร เปน ตน 3. เสน ใยธรรมชาติและเสน ใยสังเคราะห เสน ใย (Fibers) คอื พอลิเมอรชนิดหนึ่งที่มีโครงสรางของโมเลกุลสามารถนํามา เปนเสน ดา ยหรอื เสนใย จําแนกตามลักษณะการเกิดได ดงั น้ี ประเภทของเสน ใย 3.1 เสนใยธรรมชาติ ที่รูจกั กนั ดแี ละใกลตวั คอื เสนใยเซลลโู ลส เชน ลนิ ิน ปอ เสนใยสับปะรด เสนใยโปรตีน จากขนสตั ว เชน ขนแกะ ขนแพะ และ เสน ใยไหม เปน เสน ใย จากรังไหม

216 3.2 เสน ใยสังเคราะห มีหลายชนิดทใ่ี ชก นั ทัว่ ไป คอื เซลลโู ลสแอซีเตด เปนพอลิเมอรท เ่ี ตรียมไดจ ากการใชเ ซลลูโลสทาํ ปฏกิ ริ ยิ ากับกรดอซติ ิกเขม ขน โดยมีกรดซลั ฟรู ิก เปน ตวั เรง ปฏกิ ิรยิ า การใชประโยชนจ ากเซลลโู ลสอะซเี ตด เชน ผลิตเปน เสนใยอารแ นล 60 ผลิตเปน แผน พลาสติกทใ่ี ชท าํ แผงสวิตชแ ละทห่ี มุ สายไฟ ผลกระทบของการใชพ อลิเมอร ปจจบุ ันมกี ารใชผลติ ภณั ฑจ ากพอลเิ มอรอยา งมากมาย ทงั้ ในดานยานยนต การกอสราง เคร่ืองใช เฟอรนิเจอร ของเลน รวมทั้งวงการแพทย และยังมีแนวโนมท่ีใชผลิตภัณฑจาก พอลิเมอรมากย่ิงข้ึน เน่ืองจากวัสดุ สิ่งของเคร่ืองใชตางๆ ท่ีผลิตจากพอลิเมอรไมวาจะเปน พลาสติก ยาง หรอื เสนใย เม่ือใชแ ลว มกั จะสลายตัวยาก ท้งั ยังเกิดสงิ่ ตกคา งมากขึน้ เรอ่ื ย ๆ และ สารต้ังตนของพอลิเมอรสวนใหญเปนสารประกอบไฮโดรคารบอน ซึ่งเม่ือทําปฏิกิริยากับ ออกซิเจนและไนโตรเจนไดออกไซดจะเกิดเปนสารประกอบเปอรออกซีแอซิติลไนเตรต (PAN) ซ่งึ เปน พิษ ทําใหเกดิ การระคายเคืองตาและระบบทางเดินหายใจ และยังทําใหไฮโดรเจนในช้ัน บรรยากาศลดลงดวย จะเห็นไดว า ผลิตภัณฑพอลิเมอรแมจะมีประโยชนมากมาย แตกอใหเกิด มลภาวะทางสงิ่ แวดลอมไดม ากมายเชนกนั ท้ังทางอากาศ ทางนํา้ และทางดนิ ผลกระทบจากการใชพ อลเิ มอรส ามารถสรปุ ไดด งั น้ี 1) โรงงานอตุ สาหกรรมทผี่ ลิตผลิตภัณฑพ อลเิ มอรต างๆ มกี ารเผาไหมเ ชอื้ เพลิง เกิดหมอกควันและกาซคารบอนไดออกไซดซ่ึงเปนกาซพิษ นอกจากน้ีไฮโดรคารบอนยังทําให เกดิ สารประกอบออกซแี อวิตลิ ไนเตรต ซึง่ เปนพิษกระจายไปในอากาศ ทําใหสัดสวนของอากาศ เปลี่ยนแปลงไป และอุณหภูมิของอากาศเปลี่ยนแปลงไปดวย นอกจากเกิดมลภาวะทางอากาศ แลวในกระบวนการผลิตของโรงงานอุตสาหกรรม มักปลอยสารพิษลงสูแหลงนํ้า เชน อุตสาหกรรมพลาสติกปลอยสารพีซีบี (PCB polychlorinated biphenyls) ซึ่งทําใหเกิด ผมรวง ผิวหนังพุพอง ออนเพลีย และสารเคมีบางอยางละลายลงในนํ้า ทําใหนํ้ามีสมบัติเปน กรด ปริมาณออกซเิ จนในนาํ้ ลดลง เปน อนั ตรายกบั ส่งิ มีชวี ิตในน้าํ 2) การใชผลิตภัณฑพอลิเมอรของผูบริโภค เปนที่ทราบกันวาผลิตภัณฑพอลิเมอร สวนใหญสลายตัวยาก และมีการนํามาใชมากข้ึนทุกวัน ทําใหมีซากเศษผลิตภัณฑมากย่ิงขึ้น เกิดจากการทบั ถม หมกั หมมบนดนิ เกดิ กลิน่ กา ซฟุงกระจาย เพิ่มมลภาวะในอากาศ พื้นดินถูก ใชไปในการจัดเก็บซากผลิตภัณฑมากข้ึน ทําใหพ้ืนท่ีสําหรับใชสอยลดลง และดินไมเหมาะตอ การใชประโยชน เปนมลภาวะทางดินมากข้ึน นอกจากน้ีซากผลิตภัณฑบางสวนถูกทิ้งลงใน

217 แหลงนํ้า นอกจากทําใหนํ้าเสียเพิ่มมลภาวะทางนํ้าแลว ยังทับถมปดก้ันการไหลของนํ้า ทําให การไหลถายเทของนํา้ ไมสะดวก อาจทําใหนา้ํ ทวมได ผลิตภณั ฑท ่ีผลิตจากพอลเิ มอรส วนใหญเ ปน พลาสตกิ หลังจากใชง านพลาสติกเหลานี้ไป ชวงเวลาหน่ึง มักถูกทิ้งเปนขยะพลาสติก ซ่ึงสวนหนึ่งถูกนํากลับมาใชอีกในลักษณะตางๆ กัน และอกี สวนหนึ่งถูกนําไปกําจัดท้ิงโดยวิธีการตางๆ การนําขยะพลาสติกไปกําจัดท้ิงโดยการฝง กลบเปนวิธีท่ีสะดวกแตมีผลเสียตอสิ่งแวดลอม ท้ังน้ีเพราะโดยธรรมชาติพลาสติกจะถูกยอย สลายไดยากจึงทับถมอยูในดิน และนับวันยิ่งมีปริมาณมากขึ้นตามปริมาณการใชพลาสติก สวนการเผาขยะพลาสติกก็กอใหเกิดมลพิษและเปนอันตรายอยางมาก วิธีการแกปญหาขยะ พลาสตกิ ท่ไี ดผลดที ี่สุดคือ การนําขยะพลาสตกิ กลับมาใชประโยชนใ หม การนาํ ขยะพลาสตกิ ใชแลว กลบั มาใชประโยชนใหมม หี ลายวธิ ี ดังน้ี 1) การนํากลับมาใชซํ้า ผลิตภัณฑพลาสติกที่ใชแลว สามารถนํากลับมาทําความสะอาด เพ่ือใชซาํ้ ไดหลายครงั้ แตภ าชนะเหลา นน้ั จะเสอ่ื มคุณภาพและลดความสวยงามลง นอกจากน้ียัง ตอ งคาํ นึงถึงความสะอาดและความปลอดภยั ดว ย 2) การหลอมขึ้นรูปผลิตภัณฑใหม การนําขยะพลาสติกกลับมาใชใหม โดยวิธีขึ้นรูป เปน ผลติ ภัณฑใ หม เปน วธิ ที ี่นยิ มกนั มาก แตเม่ือเทียบกับปริมาณของขยะพลาสติกท้ังหมดก็ยัง เปนเพียงสวนนอย การนําพลาสติกใชแลวมาหลอมขึ้นรูปใหมเชนน้ี สามารถทําไดจํากัดเพียง ไมกี่คร้ัง ท้ังน้ีเพราะพลาสติกดังกลาวจะมีคุณภาพลดลงตามลําดับ และตองผสมกับพลาสติก ใหมในอัตราสว นทเ่ี หมาะสมทกุ ครัง้ อกี ทัง้ คุณภาพของผลิตภัณฑที่ไดจากพลาสติกที่นํากลับมา ใชใหมจะตํ่ากวาผลติ ภณั ฑท ี่ไดจากพลาสติกใหมทัง้ หมด 3) การเปล่ียนเปนผลิตภัณฑของเหลวและกาซ การเปล่ียนขยะพลาสติกเปน ผลติ ภณั ฑข องเหลวและกา ซเปน วิธกี ารท่ีที่ทําใหไดสารไฮโดรคารบอนท่ีเปนขยะเหลวและกาซ หรือเปนสารผสมไฮโดรคารบอนหลายชนิด ซึ่งอาจใชเปนเช้ือเพลิงโดยตรง หรือกลั่นแยกเปน สารบรสิ ุทธิ์ เพ่ือใชเปน วัตถุดิบสาํ หรับการผลิตพลาสตกิ เรซินไดเชนเดียวกันกับวัตถุดิบที่ไดจาก ปโตรเลียม กระบวนการน้ีจะไดพลาสติกเรซินที่ที่มีคุณภาพสูงเชนเดียวกัน วิธีการเปล่ียน ผลิตภัณฑพลาสติกท่ีใชแลวใหเปนของเหลวน้ีเรียกวา ลิควิแฟกชัน (Liquefaction) ซ่ึงเปนวิธี ไพโรไลซิสโดยใชความรอนสูง ภายใตบรรยากาศไนโตรเจนหรือกาซเฉ่ือยชนิดอื่น นอกจาก ของเหลวแลวยังมผี ลิตภัณฑข างเคียงเปนกากคารบอนซ่ึงเปนของแข็ง สามารถใชเปนเชื้อเพลิง ได สําหรับกาซท่ีเกิดขึ้นจากกระบวนการไพโรไลซิส คือกาซไฮโดรคารบอน สามารถใชเปน

218 เช้ือเพลิงไดเชนกัน นอกจากนี้ยังอาจมีกาซอื่น ๆ เกิดขึ้นดวย เชน กาซไฮโดรเจนคลอไรด ซึ่งใชประโยชนในอุตสาหกรรมบางประเภทได 4) การใชเ ปน เชื้อเพลงิ โดยตรง พลาสตกิ ประเภทเทอรโมพลาสตกิ สว นมากมีสมบัติ เปน สารทีต่ ดิ ไฟและลกุ ไหมไดด ีจงึ ใชเ ปนเชอ้ื เพลงิ ไดโ ดยตรง 5) การใชเ ปน วสั ดปุ ระกอบ อาจนําพลาสติกใชแ ลว ผสมกับวสั ดุอยา งอ่ืน เพื่อผลิตเปน ผลติ ภณั ฑวสั ดปุ ระกอบทีเ่ ปน ประโยชนไ ด เชน ไมเ ทียม หนิ ออ นเทยี ม แตผลิตภณั ฑเหลา น้ีอาจ มีคณุ ภาพไมสูงนัก

219 กิจกรรมทา ยบทที่ 10 คาํ ส่ัง จงทําเครอื่ งหมาย X ลงในขอ ท่ีถูกตอ ง 1. วิธีการกล่ันแบบใดนํามาใชใ นการกลัน่ นํา้ มนั ดิบ ก. การกล่ันแบบงา ย ข. การกลั่นแบบธรรมดา ค. การกลัน่ ลําดับสว น ง. การกลน่ั แบบสกัดโดยไอนํา้ 2. การกลน่ั นํ้ามนั ดบิ จะไดผ ลิตภัณฑใดออกมาเปนอนั ดับแรก ก. แกสหงุ ตม ข. น้ํามนั เบนซนิ ค. นา้ํ มนั ดเี ซล ง. นํ้ามนั เตา 3. ผลิตภณั ฑท่ีไดจากการกลน่ั นา้ํ มนั ดบิ จะมีองคประกอบมากหรือนอ ยขน้ึ อยูกบั อะไร ก. แหลงนํ้ามนั ดิบ ข. ความรอน ค. ความดนั อากาศ ง. การขนสง 4. ยางมะตอยเปน ผลติ ภณั ฑที่ไดจ ากการกล่นั นา้ํ มนั ดบิ ทีอ่ ุณหภูมิเทา ใด ก. < 30 oC ข. 170-250 oC ค. > 350 oC ง. > 500 oC

220 5. ผลกระทบทีเ่ กิดจากการใชป โตรเลียมจะทําใหเ กิดกา ซพิษชนิดใด ก. กาซซัลเฟอรไดออกไซด (SO2) ข. กา ซออกซิเจน (O2) ค. กาซมเี ทน (CH4) ง. กาซโพรเพน (C3H8) 6. ขอใดอธิบายความหมายของพอลเิ มอรไ มถ ูกตอ ง ก. พอลิเมอรเ ปนสารที่สามารถพบไดในสิ่งมีชีวติ ทกุ ชนิด ข. พอลิเมอรแ บบก่งิ มคี วามหนาแนนและจดุ หลอมเหลวสูง ค. พอลิเมอรอาจเกดิ จากมอนอเมอรชนดิ เดียวกันหรือตา งชนิดกนั มาเช่อื มตอ กัน ง. พอลเิ มอรเกิดจากมอนอเมอรจํานวนมากมาสรางพนั ธะเชือ่ มตอ กนั ดวยพนั ธะโคเวเลนต 7. เทอรโ มพลาสตกิ คอื พลาสตกิ ประเภทใด ก. มโี ครงสรางโมเลกุลเปน โซต รงยาว สามารถเปลย่ี นรปู ไดเ มือ่ ไดรบั ความรอน ข. ทนทานตอการเปลยี่ นแปลงอุณหภมู ิและปฏกิ ริ ิยาเคมี ค. โมเลกุลเชือ่ มตอกนั เปนรา งแห ไมส ามารถหลอมเหลวใหมไ ด ง. คงรปู หลังการผานความรอนหรอื แรงดันเพียงคร้ังเดียว 8. ขอใดจัดเปน พอลิเมอรธรรมชาติ ก. ไนลอน ข. โปรตีน ค. ดาครอน ง. พลาสตกิ

221 9. ขอใดจดั เปนพอลเิ มอรแบบรา งแห ก. PVC ข. พอลิสไตรีน ค. พอลิเอทิลีน ง. เมลามีน 10. ขอ ใดกลา วถงึ ผลกระทบจากการใชพ อลเิ มอรไ มถ ูกตอ ง ก. ทาํ ใหน ํ้ามีสมบตั ิเปน กรด ข. ทําใหเกิดผมรว ง ผวิ หนงั พพุ อง ค. ทาํ ใหป ริมาณออกซเิ จนในแหลง นาํ้ ลดลง ง. ทําใหไดผลติ ภัณฑท ท่ี นทานตอ ความรอนสูง

222 บทที่ 11 สารเคมีกบั ชีวิตและสิ่งแวดลอม สาระสําคญั ชีวิตประจําวันของมนุษยท่ีจะดํารงชีวิตใหมีความสุขน้ัน รางกายตองสมบูรณแข็งแรง สิ่งที่จะมาบั่นทอนความสุขของมนุษย คือสารเคมีท่ีเขาสูรางกายจึงจําเปนตองรูถึงการใช สารเคมี ผลกระทบจากการใชส ารเคมี ผลการเรียนรูทค่ี าดหวงั 1. อธบิ ายความสาํ คญั และความจําเปนทีต่ อ งใชส ารเคมีได 2. อธบิ ายวธิ ีการใชส ารเคมีบางชนิดไดถกู ตอง 3. อธบิ ายผลกระทบทเ่ี กดิ จากการใชส ารเคมไี ด ขอบขายเนื้อหา เร่อื งท่ี 1 ความสําคัญของสารกับชวี ติ และส่งิ แวดลอม เรื่องที่ 2 ความจาํ เปนทีต่ อ งใชสารเคมี เรอ่ื งท่ี 3 การใชส ารเคมที ีถ่ ูกตอ งและปลอดภยั เรอื่ งท่ี 4 ผลกระทบทเ่ี กิดขน้ึ จากการใชสารเคมี

223 บทที่ 11 สารเคมกี บั ชีวติ และส่ิงแวดลอ ม เรื่องที่ 1 ความสําคัญของสารเคมีกับชีวิตและสิง่ แวดลอม ส่ิงแวดลอม คือ ทุกสิ่งท่ีอยูรอบตัวเราทั้งที่มีชีวิตและไมมีชีวิต ทั้งที่เปนรูปธรรม (จับตองมองเห็นได) และนามธรรม (วัฒนธรรม ประเพณี ความเช่ือ) มีอิทธิพลเกี่ยวโยง ถึงกันเปน ปจจัยในการเกือ้ หนนุ ซง่ึ กนั และกนั ผลกระทบจากปจจัยหน่ึงจะมีสวนเสริมสรางหรือ ทําลาย อกี สว นหนึ่งอยางหลีกเล่ียงมิได ส ิ่งแวดลอมเปนวงจร และวัฏจักรที่เกี่ยวของกันไปทั้ง ระบบ สิ่งแวดลอ ม แบง ออกเปน ลักษณะกวา ง ๆ ได 2 สว น คือ 1. สิ่งแวดลอมทีเ่ กดิ ขน้ึ เองตามธรรมชาติ เชน ปาไม ภเู ขา ดิน น้ํา อากาศ ทรพั ยากร 2. สิ่งแวดลอมท่ีมนุษยสรางข้ึน เชน ชุมชนเมือง สิ่งกอสรางโบราณสถาน ศิลปกรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณี และวัฒนธรรม มนษุ ยก ับส่งิ แวดลอม มนุษยมีความสัมพันธกับสิ่งแวดลอมอยางแนบแนน ในอดีตปญหาเรื่องความสมดุล ของธรรมชาติตามระบบนิเวศยังไมเกิดขึ้นมากนัก เน่ืองจากผูคนในยุคนั้นมีชีวิตอยูภายใต อิทธพิ ลของธรรมชาติ ความเปลี่ยนแปลงทางดานธรรมชาติ และสภาวะแวดลอมเปนไปอยาง คอยเปนคอยไป จึงทําใหธรรมชาติสามารถปรับสมดุลของตัวเองได แตปจจุบันน้ีไดมีปญหา อยางรนุ แรงดา นส่งิ แวดลอ มข้นึ ในบางสวนของโลก และปญหาดังกลา วก็มีลกั ษณะคลายคลึงกัน ในทุกประเทศ ดังนี้ 1. ปญ หาทางดา นภาวะมลพษิ ทางนํา้ 2. ปญหาทรัพยากรธรรมชาติที่เส่ือมสลายและหมดส้ินไปอยางรวดเร็ว เชน นํ้ามัน แรธ าตุ พืชสตั ว ทง้ั ท่เี ปน อาหารและการอนุรักษไวเ พื่อการศกึ ษา 3.ปญหาท่ีเก่ียวกับการตั้งถ่ินฐานของชุมชนมนุษย เชน การวางผังเมือง และชุมชน ไมถูกตองทําใหเกดิ การแออัด การใชท รพั ยากรผดิ ประเภทและเกิดปญหาจากของเหลือทิ้งพวก ขยะมลู ฝอย

224 สสาร หมายถึง สิ่งที่มีมวล ตองการที่อยู และสามารถสัมผัสได หรืออาจหมายถึง ส่ิงตางๆที่อยูรอบตัวเรา มีตัวตนตองการที่อยูสัมผัสได อาจมองเห็นหรือมองไมเห็นก็ได เชน อากาศ ดิน นํา้ เปนตน สาร หมายถงึ สสารท่ที ราบสมบัติ หรอื สสารทจ่ี ะศกึ ษาเปน สสารท่เี ฉพาะเจาะจง สมบัติของสาร หมายถึง ลักษณะเฉพาะตัวของสาร เชน เนื้อสาร สี กลิ่น รส การนําไฟฟา การละลายนํ้า จุดเดือด จุดหลอมเหลว ความเปนกรด – เบส เปน ตน สมบัติของสารจําแนกได 2 ประเภท คอื 1. สมบัติทางกายภาพ เปนสมบัติที่สังเกตไดจากลักษณะภายนอก หรือใช เคร่ืองมืองายๆในการสังเกต ซ่ึงเปนสมบัติทีไมเก่ียวของกับปฏิกิริยาเคมี เชน สี กลิ่น รส สถานะ จดุ เดอื ด ลักษณะ รูปผลึก ความหนาแนน การนาํ ไฟฟา การละลาย จุดหลอมเหลว 2. สมบตั ทิ างเคมเี ปน สมบัติท่ีเกี่ยวของกับโครงสรางภายในของสาร เปนสมบัติ ทส่ี ังเกตไดเ มื่อมปี ฏกิ ิรยิ าเคมเี กิดข้ึน เชน ความเปน กรด- เบส การเกดิ สนมิ เปนตน ในชวี ติ ประจําวันของเราจงึ มคี วามจําเปนตอ งใชส ารตางๆ ทง้ั เปนปจจัยในการดํารงชีวิต ในรูปปจจัยส่ี คือ สารเปนแหลงอาหาร เราใชสารเปนเครื่องใชไมสอยในการสรางท่ีอยูอาศัย และเครื่องอํานวยความสะดวกเราใชสารพวกเสนใยมาผลิตสิ่งทอใชเปนเส้ือผา เคร่ืองนุงหม และยารักษาโรค อุปกรณ เวชภัณฑที่ใชเพื่อการปองกันโรค บําบัดรักษาโรค ลวนแตเปนสาร ท้ังส้นิ เรอ่ื งท่ี 2 ความจําเปน ที่ตอ งใชส ารเคมี สารในชีวิตประจาํ วัน ในชีวิตประจําวัน เราจะตองเกี่ยวของกับสารหลายชนิด ซ่ึงมีลักษณะแตกตางกัน สารท่ีใชในชีวิตประจําวันจะมีสารเคมีเปนองคประกอบ สารแตละชนิดมีสมบัติหลายประการ และนํามาใชประโยชนแตกตางกันเราตองจําแนกประเภทของสาร เพื่อความสะดวกใน การศกึ ษาและการนาํ ไปใช

225 ประเภทของสารในชีวิตประจําวนั 1. สารปรุงแตงอาหาร หมายถึง สารที่เติมลงไปในอาหารเพ่ือใหนารับประทาน สาร เหลานั้นจะไปเพิ่มสี รส กลิ่นของอาหาร รวมไปถึงการใสวิตามินใสผงชูรสใสเคร่ืองเทศดวย เชน นาํ้ ตาลใหรสหวาน เกลอื นํา้ ปลา ใหรสเค็ม นํา้ สม สายชู น้าํ มะนาว ใหรสเปรย้ี ว 2. สารที่ใชทําความสะอาด หมายถึง สารที่มีคุณสมบัติในการชําระส่ิงสกปรก ใชในการการดูแลรักษาสภาพของรางกาย เส้ือผา นอกจากนั้นยังชวยใหเคร่ืองใชและเคร่ือง สุขภัณฑอยใู นสภาพดมี คี วามทนทาน 3. สารท่ใี ชเ ปน เครื่องสําอาง หมายถงึ วตั ถุที่มุงหมายเอาไวทา ถู นวด โรย พน หยอด ใส อบ หรือกระทาํ ดวยวิธอี ่ืนใดตอ สว นหนง่ึ สว นใดของรางกายเพ่ือความสะอาด ความสวยงาม หรือสงเสริมใหเกิดความสวยงาม ตลอดท้ังเคร่ืองประทินผิวตาง ๆ ดวยรวมท้ังวัตถุท่ีใชเปน สวนผสมในการผลิตเคร่ืองสําอางโดยเฉพาะ แตไมรวมถึงเครื่องประดับและเคร่ืองแตงตัว ซึ่งเปน อปุ กรณรางกายภายนอก

226 4. สารที่ใชเ ปนยา หมายถึง สารหรือผลติ ภณั ฑที่มีวัตถปุ ระสงคใ นการใช เพ่อื ใหเ กิดการ เปล่ียนแปลงทางสรีรวิทยาของรางกาย หรือทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงของขบวนการ ทางพยาธิวิทยา ซ่งึ ทาํ ใหเ กดิ โรคท้ังน้ีเพอ่ื กอ ใหเ กิดประโยชนแ กผรู ับยานั้น สารทถ่ี ูกจัดใหเ ปนยาควรมีประโยชนในการใชโ ดยมีหลกั ใหญ 3 ประการ คือ 1. ใชประโยชนในการรกั ษาโรคใหห ายขาด 2. ใชประโยชนในการควบคมุ โรคหรอื บรรเทาอาการ 3. ใชป ระโยชนในการปอ งกันโรค นอกจากน้ียายังมีประโยชนในการวินิจฉัยโรค เชน การทดสอบภาวการณตั้งครรภ โดยการใช วิธีการตรวจสอบฮอรโมนที่ช่ือวาเอสโตรเจน (Estrogens) และการทดสอบการทํางานของ ระบบควบคุมการหล่ังฮอรโมนของตอมใตสมองและตอมหมวกไตโดยใชยาชื่อคอรติซอล (Cortisol) 5.สารเคมีท่ีใชในการเกษตร แบงเปน 2 ประเภท คือ สารเคมีท่ีใชในการเพิ่มผลผลิต และสารเคมีท่ใี ชใ นการกาํ จดั แมลงศัตรูพืช 5.1 สารเคมีท่ีใชในการเพิ่มผลผลิต สารเคมีท่ีใชในการเพ่ิมผลผลิต คือ วัสดุใดก็ตามท่ี เราใสลงไปในดินไมวาในทางใด โดยวัสดุนั้นมีธาตุอาหารจําเปนสําหรับพืช ซึ่งพืชสามารถ นําไปใชป ระโยชนไดเ ราเรียกวา “ปุย”

227 5.2 สารเคมที ่ใี ชในการกาํ จัดแมลงศัตรูพืช หมายถึง สารเคมีหรือสวนผสมของสารใดๆ กต็ ามท่ใี ชป องกนั กาํ จดั ทาํ ลาย หรือขับไลศ ตั รพู ืช คณุ สมบัตขิ องสารเคมที ี่ใชในชีวิตประจาํ วัน แบงตามคุณสมบัติได 3 ประเภทไดแก 1.สารทม่ี คี วามเปนกลาง เชน นํา้ นํ้าเชอ่ื ม 2.สารทมี่ คี วามเปนกรด เชน นาํ้ มะนาว นา้ํ สมสายชู นาํ้ อัดลม น้ํายาลางหอ งน้ํา 3.สารทม่ี สี มบัตเิ ปน เบส เชน นาํ้ ปูนใส นํ้าสบู น้ํายาเชด็ กระจก การหาคา ความเปน กรด-เบส (Potential of Hydrogen ion : pH) การหาคา ความเปนกรดความเปนเบสของสารเคมที ใี่ ชใ นชีวิตประจําวันสามารถทดสอบ การเปล่ียนสีของ กระดาษลิตมัส ยูนิเวอรซัลอินดิเคเตอร และสารละลายฟนอลฟธาลีน ดงั แสดงในตาราง

228 ผลการเปลยี่ นแปลงเม่อื ทดสอบความเปน กรด-เบสของสารเคมใี นชวี ิตประจาํ วนั กระดาษลติ มัส ยนู ิเวอรซลั อินดิเคเตอร สารละลายฟน อลฟ ธาลนี กรด (acid) การตรวจสอบดว ยยูนิ กรด (acid) สารละลายฟนอลฟ ธาลนี เมือ่ ทดสอบดวยกระดาษ เวอรซลั อนิ ดิเคเตอร จะ ลิตมัสสีนํ้าเงินจะเปล่ยี นจากสี สามารถบอกคา ความเปน เปนสีใสหรือไมเปลีย่ นสี นา้ํ เงนิ เปนสีแดง กรด-เบส (pH) ไดดังนี้ เบส Base เมอ่ื ทดสอบดวยกระดาษ -คา pH นอ ยกวา 7 สารละลายฟน อลฟ ธาลีน ลติ มัสสแี ดงจะไมเ ปล่ียนสี เปนกรด เปลยี่ นเปนสชี มพูมวง เบส Base -คา pH มากกวา 7 เม่ือทดสอบดว ยกระดาษ เปนเบส ลติ มสั สีแดงจะเปลย่ี นจากสแี ดง -คา pH เทา กบั 7 เปน กลาง เปนสีนาํ้ เงิน เมือ่ ทดสอบดว ยกระดาษ ลติ มสั สีนาํ้ เงินจะไมเ ปลยี่ นสี กลาง กระดาษลติ มัสท้ังสองสี ไมเ ปลย่ี นแปลง

229 เรอื่ งที่ 3 การใชสารเคมีท่ีถกู ตอ งและปลอดภัย หลกั สําคญั ที่ตอ งคาํ นงึ ถงึ ในการใชส ารเคมีอยา งปลอดภัย มหี ลกั สําคญั ดังนี้ 1. การจัดเก็บ ตองจัดเก็บใหถูกตอ งเหมาะสมกบั สมบตั ิของสารนั้น การจัดเก็บตองเปน สัดสวน สารไวไฟตองเก็บในขวดท่ีปดมิดชิด อากาศแหงเย็น หางจากประกายไฟแหลงความ รอ น สารพิษและสารทีม่ ีฤทธกิ์ ดั กรอ นตองเก็บแยกตางหากมีปายบอกที่เก็บเปนสัดสวนชัดเจน ไมจัดเก็บปะปนกับวัตถุดิบที่นํามาใชในกระบวนการปรุงอาหารที่สําคัญที่สุด ตองเก็บใหหาง จากมอื เด็ก เดก็ ตอ งไมสามารถนําออกมาได 2. ฉลาก รูจักฉลากและใสใจในการอานฉลากอยางละเอียดกอนนํามาใช เน่ืองจาก ผลติ ภณั ฑท ่ีใชในบานสว นใหญเ ปน สารท่ีมีพษิ ใหโทษรนุ แรงในระดับตา งกันกอนนํามาใช จึงตอง อานฉลากใหเขาใจและปฏิบัติตามคําแนะนําท่ีผูผลิตระบุไวที่ฉลากอยางเครงครัดตัวอยาง คาํ อธิบายในฉลาก เชน – อนั ตราย (DANGER) แสดงใหเห็นวาควรใชผลิตภัณฑดวยความระมัดระวังเพิ่มมาก ข้ึนเปนพิเศษสารเคมีท่ีไมไดถูกทําใหเจือจางเม่ือสัมผัสถูกกับตาหรือผิวหนังโดยไมไดตั้งใจอาจ ทําใหเ น้ือเยอ่ื บริเวณน้ันถกู กัดทาํ ลายหรือสารบางอยางอาจติดไฟไดถา สัมผสั กับเปลวไฟ – สารพิษ (POISON) คอื สารท่ีทําใหเปนอันตรายหรือทําใหเสียชีวิตถาถูกดูดซึมเขาสู รา งกายทางผิวหนงั รับประทานหรือสูดดมคาํ นีเ้ ปน เปน ขอเตือนถงึ อันตรายท่รี ุนแรงทส่ี ุด – เปนพษิ (TOXIC) หมายถึง เปนอันตรายทําใหอวัยวะตางๆทําหนาท่ีผิดปกติไปหรือ ทําใหเ สยี ชีวิตไดถาถูกดดู ซมึ เขา สรู า งกายทางผิวหนังรบั ประทานหรอื สดู ดม – สารกอความระคายเคือง (IRRITANT) หมายถึง สารที่ทําใหเกิดความระคายเคือง หรอื อาการบวมตอผิวหนงั ตาเยื่อบุและระบบทางเดนิ หายใจ – ตดิ ไฟได (FLAMMABLE) หมายถงึ สามารถติดไฟไดงาย และมีแนวโนมท่ีจะเผาไหม ไดอยางรวดเรว็ – สารกัดกรอ น (CORROSIVE) หมายถงึ สารเคมีหรือไอระเหยของสารเคมนี ้นั สามารถ ทําใหว ัสดุถกู กัดกรอ นผหุ รอื สิ่งมชี ีวติ ถูกทาํ ลายได

230 3. ซื้อมาเก็บเทาท่ีจําเปน ไมจําเปนตองมากักตุนไวจํานวนมากผลิตภัณฑเหลาน้ีไมมี ความจาํ เปน ตอ งนาํ มาเก็บสาํ รองในปริมาณมาก การสํารองเทากับเปนการนําสารพิษมาเก็บไว โดยไมต ง้ั ใจนอกจากน้ยี ังตอ งหมัน่ ตรวจสอบวาผลิตภัณฑมีสมบัติเปลี่ยนแปลงไปจากตอนที่ซื้อ มาใหมห รอื ไม เชน สี กลิ่น เปลย่ี นแปลงไป ซึ่งอาจจะหมดอายุหรือหมดสภาพจําเปนตองนําไป ทง้ิ หรือทาํ ลายดว ยวิธีการทีถ่ กู ตอง 4. ไมเก็บสารเคมีปะปนกับอาหาร ทั้งน้ีเน่ืองจากสารเคมีอาจหกหรือมีไอระเหย ทําใหปนเปอนกบั อาหารได และเม่ือใชผ ลิตภัณฑส ารเคมีเสรจ็ แลว ควรลางมือใหสะอาดทกุ ครั้ง 5. การท้ิงภาชนะบรรจุหรอื ผลิตภัณฑทหี่ มดอายุ ตองคํานึงเสมอวาภาชนะบรรจุหรือ ผลิตภณั ฑท หี่ มดอายทุ จ่ี ําเปนตอ งทงิ้ อาจกอ ใหเ กดิ พิษตอ สงิ่ แวดลอ มการทิ้งขยะจากผลิตภัณฑ เหลา นี้ตองแยกและนําท้ิงในระบบการจัดเก็บขยะมพี ษิ ของเทศบาลหนวยงานทเี่ ก่ยี วของหากไม มีจาํ เปน ตอ งฝงกลบหรือทาํ ลายใหดูคาํ แนะนาํ ในฉลากและปฏิบัติตามอยา งเครง ครัด 6. หลักปลอดภัยสูงสุดในขณะใช ตองคํานึงไวเสมอวาสารเคมีทุกอยางมีพิษแมจะ มนั่ ใจวา มีพษิ ต่าํ ก็ใหป ฏิบัตเิ สมอื นสารเคมที ่ีมพี ิษสงู เพ่อื ความปลอดภัยการหยิบจับตองใชถุงมือ มีเสื้อคลุมกันเปอนใชผาปดจมูก (mask) สวมแวนตากันสารเคมี (Goggle) หากสัมผัสสูดดม เอาไอระเหยหรือเผลอกลืนกินเขาไปใหดูวิธีการปฐมพยาบาลเบ้ืองตนจากฉลาก และรีบนําไป พบแพทยท นั ทีโดยนําภาชนะผลิตภัณฑท่ีมฉี ลากติดตวั ไปดว ย

231 เรือ่ งท่ี 4 ผลกระทบที่เกิดข้ึนจากการใชส ารเคมี การใชสารเคมใี นปริมาณมากเม่อื สารเคมีนั้นถูกนาํ มาใชแลวหรือสวนที่เหลือจากการใช ยอมกลายเปน ขยะหรือของเสยี ซึ่งโดยธรรมชาตจิ าํ เปนตอ งมกี ารยอยสลายหรือตองมีการบําบัด เพอื่ เปล่ยี นเปน สารทไี่ มม ีพิษหรอื มีพษิ นอ ยลง การกาํ จดั สารเคมีที่เหลอื ใชน นั้ ตองมีวิธีการกําจัด อยางเหมาะสม ทั้งนี้เน่ืองจากสารแตละชนิดมีพิษตอสิ่งแวดลอมในระดับตางกัน หากไม สามารถกําจัดไดอยางเหมาะสมแลวอาจตกคางในสิ่งแวดลอมซึ่งจะกอใหเกิดอันตรายตอคน สัตว ระบบนิเวศได 1. ผลกระทบของของเสยี ท่เี ปนอันตรายตอ ส่ิงแวดลอ ม 1. ทาํ ใหเกิดผลกระทบตอ ระบบนิเวศ สารโลหะหนักหรือสารเคมีที่เจือปนอยูในของ เสีย ท่ีเปนอันตราย นอกจากจะเปนอันตรายตอมนุษยแลว ยังเปนอันตรายตอสิ่งมีชีวิตอ่ืน ๆ ท้ังพืชและสัตวทําใหเจ็บปวยและตายไดเชนกัน หรือถาไดรับสารเหลาน้ันในปริมาณไมมาก พอที่จะทําใหเ กดิ อาการอยา งเฉยี บพลัน ก็อาจมีผลกระทบตอ โครงสรางของโครโมโซมทําใหเกิด การเปล่ียนแปลงทางพันธกุ รรม นอกจากน้กี ารสะสมของสารพิษไวในพืชหรือสัตวแลวถายทอด ไป ตามหว งโซอาหาร ในท่สี ดุ อาจเปนอนั ตรายตอมนุษยซ งึ่ นําพืชและสัตวดงั กลา วมาบรโิ ภค 2. ทําใหเกิดผลเสียหายตอทรัพยสินและสังคม เชน เกิดไฟไหม เกิดการ กัดกรอ นเสียหายของวัสดุ เกิดความเส่ือมโทรมของสิ่งแวดลอม ซึ่งจะสงผลทางออมทําใหเกิด ปญ หาทางสงั คมดว ย 2. ผลกระทบของสารเคมีท่มี ตี อ สขุ ภาพของมนุษย ปจจัยทีท่ ําใหส ารเคมมี ผี ลตอสุขภาพของคน จากการศึกษาของ Dr.Helen Marphy ผูเชยี่ วชาญทางดา นพษิ วทิ ยาประเทศอินโดนีเซีย พบวา ปจจัยท่ีมีความเสี่ยงของสุขภาพของคน อนั ดับตน ๆ คอื 1. เกษตรกรใชสารเคมีชนิดท่ีองคการ WHO จําแนกไวในกลุมท่ีมีพิษรายแรงยิ่ง (Extremely toxic) และมีพิษรายแรงมาก (Very Highly toxic) ซ่ึงมีความเสียงสูงทําใหเกิด การเจ็บปวยแกเกษตรกร ซ่ึงใชส ารพิษ

232 2. การผสมสารเคมีหลายชนิดฉีดพนในครั้งเดียว ซึ่งเปนลักษณะท่ีทําใหเกิดความ เขม ขนสูง เกิดการแปรสภาพโครงสรางของสารเคมี เม่ือเกิดการเจ็บปวยแพทยไมสามารถรักษา คนไขไดเ นอ่ื งจากไมม ียารักษา โดยตรง ทาํ ใหคนไขม โี อกาสเสียชวี ติ สูง 3. ความถ่ขี องการฉดี พนสารเคมี ซ่ึงหมายถึง จํานวนครั้งที่เกษตรกรฉีดพน เม่ือฉีด พนบอยโอกาสที่จะสัมผัสสารเคมีก็เปนไปตามจํานวนคร้ังทีฉีดพนทําใหผูฉีดพนไดรับสารเคมี ในปรมิ าณทม่ี ากสะสมในรา งกาย และผลผลติ ทางการเกษตร 4. การสัมผัสสารเคมีของรางกายผูฉีดพน บริเวณผิวหนังเปนพื้นที่ท่ีมากที่สุดของ รางกาย หากผูฉีดพนสารเคมีไมม กี ารปองกนั หรอื เสื้อผา ที่เปยกสารเคมี โดยเฉพาะบริเวณที่มือ และขาของผฉู ดี พนทาํ ใหมีความเสี่ยงสูง เพราะสารเคมีปองกันและกําจัดศัตรูพืชถูกผลิตมาให ทาํ ลายแมลงโดยการทะลทุ ะลวง หรือดดู ซึมเขาทางผวิ หนังของแมลง รวมทง้ั ใหแมลงกนิ แลว ตาย ดงั นัน้ ผิวหนังของคนทีม่ คี วามออนนุมกวาผวิ หนังของแมลงงายตอการดูดซึมเขาไป ทางตอมเหง่ือนอกเหนือจากการสูดละอองเขาทางจมูกโดยตรง จึงทําใหมีความเส่ียงอันตราย มากกวาแมลงมากมาย 5. พฤติกรรมการเก็บสารเคมี และทําลายภาชนะบรรจุไมถกู ตอ งทําใหอันตรายตอผู อยูอาศัยโดยเฉพาะเด็ก ๆ และสตั วเลี้ยง 6. ทําใหเกิดความเสี่ยงตอการเกิดโรคมะเร็ง การสัมผัสหรือเก่ียวของกับ ของเสียที่เปนอันตรายซึ่งประกอบดวยสารพิษที่เปนสารกอมะเร็ง อาจทําใหเกิดโรคมะเร็งได โดยเฉพาะเม่ือไดร บั สารเหลานั้นเปนเวลาติดตอกันนาน อาทิ การหายใจเอาอากาศที่มีสารพิษ เขาไป กินอาหารหรือน้ําที่ปนเปอนดว ยสารเคมีพวกยาฆา แมลง 7. ทําใหเกดิ ความเสีย่ งตอ การเกิดโรคอืน่ การทไี่ ดรับสารเคมหี รือสารโลหะหนักบาง ชนิดเขาไปในรางกาย อาจทําใหเจ็บปวยเปนโรคตาง ๆ จนอาจถึงตายได เชน โรคทางสมอง หรือทางประสาท หรือโรคท่ีทําใหเกดิ ความผิดปกติของรางกาย ตัวอยางของโรคท่ีเกิดจากการ จัดการของเสยี ทเ่ี ปนอนั ตรายอยางไมถกู ตอง เชน โรคมนิ ามาตะซ่ึงเกิดจากสารปรอท โรคอิไต- อไิ ต ซึ่งเกดิ จากสารแคดเมียมและโรคแพพิษสารตะกว่ั เปน ตน

233 กิจกรรมทา ยบทท่ี 11 คาํ ช้ีแจง 1. ใหผูเรียนตรวจสอบคาความเปนกรด-เบส (pH) ของสารเคมีที่ใชในชีวิตประจําวัน ดวยกระดาษลติ มัสและกระดาษยนู เิ วอรซ ัลอนิ ดิเคเตอร 2. เม่ือดําเนินการทดสอบเสร็จเรียบรอยแลวใหนักศึกษาบันทึกผลการทดสอบลงใน ตาราง 3.ใหผ เู รยี นตอบคําถามกิจกรรมการทดสอบหาคา ความเปนกรด-เบส 4. ครูและนกั ศึกษาสรปุ และอภิปรายผลการทดลองรวมกัน ขั้นตอนวธิ ที ําการทดสอบ 1. ใหผ ูเรียนเตรยี มสารเคมที ่ีใชใ นชีวติ ประจําวัน ดังนี้ น้ําอัดลม น้ํามะนาว นํ้าสมสายชู น้ํายาลางหองน้ํา น้ําเปลา น้ําเช่ือม สารละลายสบู สารละลายยาสีฟน สารละลายยาสระผม สารละลายผงชูรส เพื่อทาํ การทดลอง 2. นําสารเคมี จํานวน 50 มิลลิลิตร ใสในภาชนะที่เตรียมไวเพื่อทําการทดลอง ในกรณีสารเคมีทเ่ี ปนของแข็ง เชน สบู ยาสฟี น ใหผ เู รยี นนาํ ไปละลายน้ําเพ่ือทําเปนสารละลาย 3. นํากระดาษยูนิเวอรซัลอินดิเครเตอรจุมทดสอบสารละลายแตละชนิดตามลําดับ ตรวจสอบสีที่เปลีย่ นแปลงและเปรียบเทียบผล

234 ตารางบนั ทกึ ผลการทดลอง ผลการทดสอบคา ความเปน กรด-เบส (pH) ของสารเคมที ใี่ ชในชวี ิตประจาํ วนั ชนิดของสารเคมี คา กรด-เบส pH การเปลย่ี นสขี องกระดาษลิตมสั สแี ดง สนี า้ํ เงนิ 1. น้ําอัดลม 2. นาํ้ มะนาว 3. นาํ้ สมสายชู 4. น้ํายาลา งหอ งนํ้า 5. นาํ้ เปลา 6. น้ําเชอ่ื ม 7. สารละลายสบู 8. สารละลายยาสฟี น 9. สารละลายยาสระผม 10. สารละลายผงชูรส คาํ ถามจากการทํากจิ กรรม 1. จงเรยี งลําดบั สารเคมที มี่ คี ากรด-เบส (pH) จากนอยไปหามากพรอ มบอกคา pH 2. มีสารละลายใดบางท่ีเปนกรด และสารละลายใดบางที่เปนเบส ผูเรียนทราบ ไดอยา งไร จงอธิบาย 3. ผูเรียนคิดวาจากการทํากิจกรรมการทดสอบคากรด-เบสของสารเคมีที่ใชใน ชีวิตประจาํ วนั สามารถนาํ ไปใชใ นชวี ติ ประจาํ วันไดอยา งไร

235 บทที่ 12 แรงและการเคล่อื นท่ี สาระสําคญั แรงและการกระทําตอวัตถุ ความหมายของแรง การเคล่ือนที่ของวัตถุ ความเรง ความสัมพันธระหวางแรงและการเคล่ือนท่ีของอนุภาคในสนามโนมถวง สนามแมเหล็ก และ ประโยชนข องสนามแมเหลก็ ผลการเรียนรทู ีค่ าดหวงั 1. อธิบายเกี่ยวกับความสัมพันธระหวางแรงกับการเคลื่อนที่ในสนามโนมถวง สนามแมเ หล็ก สนามไฟฟา การเคลือ่ นที่แบบตาง ๆ และการนาํ ไปใชป ระโยชนได 2. อธิบายเกี่ยวกับสมบัติ ประโยชน และมลภาวะจากเสียง ประโยชนและโทษของ ธาตุกัมมันตรังสตี อชีวติ และส่ิงแวดลอ มได ขอบขา ยเนอื้ หา 1. แรงและการเคลื่อนท่ี เรื่องที่ 1 ความสัมพนั ธระหวา งแรงและการเคลอ่ื นทีใ่ นสนามโนมถวงสนามแมเหล็ก และสนามไฟฟา เรอ่ื งที่ 2 แรงและความสัมพนั ธระหวางการเคลอ่ื นท่ีของอนุภาค เรอ่ื งที่ 3 การเคลือ่ นทีแ่ บบตาง ๆ 2. พลังงานเสียง เรอ่ื งท่ี 1 การเกดิ เสียง เรอ่ื งที่ 2 สมบัตขิ องเสยี ง เร่ืองท่ี 3 ประโยชนข องพลังงานเสียง เรอ่ื งที่ 4 อันตรายจากเสียง

236 บทท่ี 12 แรงและการเคลอ่ื นที่ เรอื่ งที่ 1 ความสมั พนั ธร ะหวา งแรงและการเคล่ือนทใี่ นสนามโนมถวง สนามแมเหล็ก และ สนามไฟฟา สนามของแรง หมายถึง บริเวณที่เม่ือนําวัตถุไปวางแลวเกิดแรงกระทํากับวัตถุน้ัน ซึ่งจะมคี ามากหรอื นอยข้ึนอยูก ับขนาดของสนาม ขนาด และตําแหนงของวตั ถุ 1. แรงโนมถวงและสนามโนม ถวง เมื่อเราปลอยวตั ถุ วตั ถจุ ะตกลงสพู นื้ แสดงวามแี รงกระทําตอวัตถุ โดยแรงนั้นเกิดจาก แรงทโี่ ลกดงึ ดูดวตั ถุ เรยี กวา แรงโนมถว ง (Gravitational force) และวัตถุอยูในสนามของแรง โนมถวง เรียกสั้น ๆ วา สนามโนมถวง (Gravitational field) โดยสนามโนมถวงเปนปริมาณ เวกเตอร มที ิศทางเขาสูศูนยกลางท่ีเปนตนกําเนิดสนาม เชน สนามโนมถวงของโลกมีทิศเขาสู ศนู ยก ลางของโลก สวนสนามโนมถวงของดาวดวงใดกม็ ีทศิ เขา สูศูนยกลางของดาวดวงน้ัน สนามโนมถวงที่ตําแหนงใด ๆ เทากับแรงโนมถวงท่ีกระทําตอวัตถุหารดวยมวล ของวัตถุนั้น เชน วางวตั ถุ 1 กิโลกรัม ไวที่ผิวโลก วัตถุจะถูกโลกดึงดูดดวยแรง 9.8 นิวตัน (N) ในทิศทางเขา หาศูนยก ลางโลก ดงั น้นั สนามโนมถวงของโลกที่บริเวณนั้นจะมีขนาด เทากับ 9.8 นวิ ตนั ตอกิโลกรมั (N/Kg) และทิศทางเขาหาศนู ยกลางโลก สนามโนมถวงของโลกจะมีคาลดลงเร่ือย ๆ เมื่อสูงข้ึนจากผิวโลก โดยมีคาเฉล่ียอยูที่ 9.8 นิวตนั ตอ กิโลกรัม (N/Kg) การเคลื่อนท่ีของวัตถใุ นสนามโนมถวงโลก การตกของวัตถุท่ีมีมวลตางกันในสนามโนมถวงโลกซ่ึงมีคา 9.8 นิวตันตอกิโลกรัม (N/Kg) วัตถุเคล่อื นที่ดวยความเรง โนมถว ง 9.8 เมตรตอวินาที2 (m/s2) มีทิศทางเขาสูศูนยกลาง ของโลก ซึ่งหมายความวา ความเร็วของวัตถุจะเพ่ิมขึ้นวินาทีละ 9.8 เมตรตอวินาที ดังน้ัน เม่อื เวลาผานไป 1 วินาที และ 2 วินาที วัตถุจะมีความเร็ว 9.8 เมตรตอวินาที และ 19.6 เมตร ตอวินาที ตามลําดับ โดยความเรงโนมถวงจะมีคาแตกตางกันตามตําแหนงที่หางจากจุด ศูนยก ลางของโลก

237 การเคลื่อนท่ีขึ้นหรือลงของวัตถุบริเวณใกลผิวโลก ถาคํานึงถึงแรงโนมถวงเพียงอยาง เดียวโดยไมคิดถึงแรงอ่ืน ๆ เชน แรงตานอากาศ หรือแรงพยุงของวัตถุในอากาศแลว วัตถุจะ เคลื่อนท่ดี ว ยความเรง โนม ถวงทมี่ คี าคงตวั เทา กับ 9.8 เมตรตอวินาที2 (m/s2) ในทิศทางลง เรียก การเคลื่อนท่ีแบบน้วี า การตกแบบเสรี (Free ball) 2. แรงแมเหล็กและสนามแมเหล็ก บริเวณที่มีแรงแมเหลก็ กระทําตอ สารแมเ หลก็ เชน เหลก็ นิกเกลิ และโคบอลต เปนตน แสดงวาบริเวณนั้นมีสนามแมเหล็ก (Magnetic field) โดยสนามแมเหล็กมีลักษณะ ประกอบดว ยเสนแผก ระจายเตม็ สนามแมเหลก็ เรยี กเสนตา ง ๆ เหลานีว้ า เสน สนามแมเ หลก็ โดยเสนสนามแมเหล็ก จะมีลักษณะเปนเสนโคงออกจากขั้วเหนือของแทงแมเหล็ก เขา สูข ัว้ ใตข องแทง แมเหล็ก ซ่งึ สามารถแสดงใหเห็นโดย วางแผนกระดาษแข็งทับแทงแมเหล็ก แลวโปรยผงตะไบเหล็กบนแผนกระดาษ จากน้ันเคาะแผนกระดาษเบา ๆ จะเห็นวาผงตะไบ เหลก็ เรยี งเปนแนวเสนโคง แนวโคงแตล ะแนวเรียกวาเสน แมเ หลก็ ดงั รปู สมบตั ขิ องเสน สนามแมเหลก็ มดี ังน้ี 1. เสนสนามแมเ หลก็ พุงออกจากขว้ั เหนือแมเหล็กเขา สูขั้วใต 2. เสน สนามแมเ หลก็ แตละเสน จะไมตดั กนั

238 3. เสนสนามแมเหล็กจากแมเหล็กตางชนิดกันจะเสริมเปนแนวเดียวกัน สวนเสน ส น า ม แ ม เ ห ล็ ก ช นิ ด ข้ั ว เ ดี ย ว กั น จ ะ ไ ม เ ส ริ ม กั น เ ป น แ น ว เ ดี ย ว กั น แ ต จ ะ เ บ น อ อ ก ไ ป คนละทาง 4. เสนสนามแมเหล็กสามารถพุงผานแทงวัตถุที่ไมใชสารแมเหล็กไดโดยปกติ แตถา แทง วตั ถุนน้ั เปน แมเ หลก็ จะเกดิ แรงกระทาํ ตอตวั แทงวตั ถุน้ัน การเคลือ่ นทข่ี องประจไุ ฟฟาในสนามแมเหล็ก 1. เม่ือประจุไฟฟาเคลื่อนท่ีในสนามแมเหล็ก จะเกิดแรงกระทําตอประจุไฟฟาทําให เกิดการเบ่ยี งเบนขึน้ แรงนตี้ างจากสนามไฟฟาเพราะจะกระทําตอประจุที่มีการเคลื่อนที่เทานั้น ประจุไฟฟาจะเคล่ือนทเ่ี ปน สวนของวงกลม แสดงใหเห็นวา ทศิ ของแรงมีทิศต้ังฉากกับความเร็ว และประจุไฟฟา 2. เมื่อสนามแมเหล็กเปลี่ยนทิศ ทิศการเบนของอิเล็กตรอนจะเปลี่ยนไปดวย เนอ่ื งจากแรงแมเ หล็กเปล่ยี นทศิ ผลของสนามแมเหล็กตอการเคลอ่ื นทขี่ องตวั ท่ีมีกระแสไฟฟา ไหลผาน เม่อื มกี ระแสไฟฟา ไหลผานตัวนําวางไวในสนามแมเหล็กจะมีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น คอื ถา ผา นตัวนําซึ่งวางตัดกับสนามแมเหล็ก จะมีแรงแมเหล็กกระทําตอขดลวดตัวนํา มีผลทํา ใหข ดลวดตัวนําเคลื่อนท่ี โดยทศิ ทางของแรงแมเ หลก็ ข้ึนอยูกับทิศทางการไหลของกระแสไฟฟา และสนามแมเหลก็ ซ่งึ หลกั การน้ีนาํ ไปใชใ นการทํามอเตอรไ ฟฟา และเครือ่ งวัดไฟฟา ตา ง ๆ เชน การนําไปสรางมอเตอรไฟฟา ซ่ึงจะเปลี่ยนจากพลังงานไฟฟาเปนพลังงานกล เชน พัดลม ไดรเ ปาผม เปน ตน เร่ืองท่ี 2 แรงและความสัมพนั ธระหวางการเคลือ่ นท่ีของอนุภาค 1. ความหมายของแรง แรง (Force) หมายถึง สิ่งท่ีมากระทําหรือพยายามกระทําตอวัตถุแลวทําใหวัตถุเกิด การเปล่ียนแปลงสภาพ เชน ถามีแรงมากระทํากับวัตถุซึ่งกําลังเคลื่อนที่ อาจทําใหวัตถุน้ัน เคล่ือนทีเ่ ร็วข้นึ ชาลง หรือหยดุ นง่ิ หรอื เปลี่ยนทศิ ทาง แรงเปน ปรมิ าณเวกเตอร คือ ตองบอกขนาดและทิศทาง มหี นว ยเปน นิวตัน (N)

239 2. การเคลื่อนที่ในแนวตรง การเคลื่อนท่ีในแนวตรง หมายถึง การเคล่ือนท่ีที่ไมเปล่ียนทิศทาง เชน ผลไมหลน จากตน โดยการเคล่อื นที่ คอื การเปลยี่ นแปลงตาํ แหนง ของวัตถุท่ีมคี วามเกีย่ วขอ งกบั สง่ิ ตอไปน้ี  ระยะทาง (Distance) คือ เสนทางหรือความยาวตามเสนทางการเคล่ือนท่ีจาก ตําแหนงเริ่มตนถึงตําแหนงสุดทาย ระยะทางใชสัญลักษณ “s” เปนปริมาณ สเกลาร มีหนวย เปน เมตร (m)  การกระจัด (Displacement) คือ ความยาวเสนตรงที่เช่ือมโยงระหวางจุดเร่ิมตน และจดุ สุดทา ยของการเคล่ือนที่ การกระจัดใชสัญลักษณ ⃑ เปนปริมาณเวกเตอร มีหนวยเปน เมตร (m) การเคลื่อนท่ีในแนวตรง ระยะทางและการกระจัดจะมีคาเทากัน แตการกระจัด จะตองมีทิศทางการเคลื่อนท่ีกํากับดวยและเปนปริมาณเวกเตอร ดังนั้น การกระจัดในหน่ึง หนวยเวลา คือ ความเร็ว และมหี นวยเปนเมตร / วินาที สาํ หรับความเร็วของรถยนตท่ีเคลื่อนที่ ความเรว็ จะมกี ารเปล่ยี นแปลงตลอดเวลา ดังน้ันจึงนิยมบอกความเร็วของรถยนตเปนความเร็ว เฉลี่ย ในการเคลื่อนที่ในแนวดิ่งวัตถุเคลื่อนที่ดวยความเร็วคงตัว เรียก ความเรงในการตก ของวตั ถุวา ความเรง โนม ถวง ซึ่งมีคา 9.8 เมตรตอวินาที2 และถาความเรงมีทิศทางตรงขามกับ ความเรว็ ตน จะมคี า เปนลบ เรียกอีกอยา งหนึ่งวา ความหนว ง 3. ความเรว็ (Velocity) ขณะทรี่ ถยนตก าํ ลงั วง่ิ เราจะเหน็ เข็มบอกความเรว็ เบนขน้ึ เรอ่ื ย ๆ แสดงวารถเคล่ือนท่ี ดวย อัตราเร็วเพ่ิมขึ้น แตเม่ือพิจารณาถึงทิศทางท่ีรถวิ่งไปดวย จะกลาวไดวารถเคลื่อนท่ีดวย ความเรว็ (เพิม่ ขึน้ ) แตเม่ือพจิ ารณาตามขอเทจ็ จริงปรากฏวา ความเรว็ ของรถไมไ ดเคล่ือนท่ีดวย อัตราเร็วที่เทากันตลอด เชน จากชาแลวเร็วข้ึนเร่ือย ๆ หรือความเร็วเพิ่มบางลดบาง จึงนิยม บอกความเรว็ เปนอตั ราเรว็ เฉลยี่ อัตราเร็ว = ระยะทางทเ่ี คลื่อนท่ี หรือ V เวลาที่ใช =

240 4. ความเรง (Acceleration) ความเรง คือ อัตราการเปลี่ยนแปลงความเร็วของวัตถุในหนึ่งหนวยเวลา เขียนแทน ดวย ⃑ มีหนวยเปนเมตรตอวินาที2 (m/s2) แตเน่ืองจากอัตราเร็วมีการเปล่ียนแปลง คือ (1) มีการเปล่ียนขนาดของความเร็ว หรือ (2) มีการเปล่ียนแปลงทิศทางของความเร็ว หรือ (3) มีการเปลี่ยนแปลงท้ังขนาดและทศิ ทางของความเร็ว จึงนิยมบอกความเร็วของรถเปนความเรง เฉลย่ี ความเรงเฉลี่ย (average acceleration) คือ อัตราสวนระหวางความเร็วท่ีเปล่ียนไป กับชว งเวลาท่ีเกดิ ความเปล่ยี นแปลงความเร็วนัน้ ๆ เขียนแทนดวย ⃑av ⃑av = ∆⃑ = หรือกลา วไดวา : ∆ ความเรง เฉลีย่ = =ความเรว็ ท่ีเปลยี่ นไป ความเร็วปลาย ความเรว็ ตน ชว งเวลาทใี่ ช ชว งเวลาที่ใช ตัวอยางเชน จงหาความเรงเฉลี่ยของเครื่องบินที่เร่ิมตนจากจุดหยุดนิ่งเวลา 0 วินาที และบินออกจากรันเวยเม่ือเวลาผานไป 28 วินาที เครื่องบินมีความเร็วเปน 246 กโิ ลเมตรตอ ชัว่ โมง วิธที าํ ⃑av = ∆⃑ ∆ ในท่นี ้ี ∆v = 246 -0 = 246 กโิ ลเมตรตอชั่วโมง = = 7 0 เมตรตอวินาที ∆t = t2 – t1 = 28 – 0 = 28 วินาที ดงั นน้ั ⃑av = เ มตรตอวนิ าที ว ินาที = 2.5 เมตรตอวินาที2 ความเรงเฉลย่ี ของเคร่อื งบิน เทา กับ 2.5 เมตรตอ วนิ าที2

241 การเคลือ่ นทแี่ นวตรง การเคล่อื นท่แี นวตรง หมายถึง การเคลอ่ื นทีข่ องวตั ถุตามแนวเสนตรง โดยไมออกจาก แนวเสนตรงของการเคลือ่ นท่ี หรือเรยี กวา การเคล่ือนท่ี แบบ 1 มิติ ของวัตถุ เชนการเคล่ือนท่ี ของรถไฟ การเคล่อื นท่ขี องผลไมทต่ี กตน ลงสูพ้นื การเคล่ือนท่ีแนวตรง แบง ได 2 กรณี คือ การเคล่ือนที่แนวตรงตามแนวราบ และการ เคล่อื นท่ีแนวตรงตามแนวดิ่ง การบอกตาํ แหนง ของวตั ถสุ ําหรับการเคล่อื นทแี่ นวตรง ในการเคล่ือนท่ีของวัตถุ ตําแหนงของวัตถุจะมีการเปล่ียนแปลง ดังนั้นจึงตองมีการ บอกตําแหนงเพ่ือความชัดเจน การบอกตําแหนงของวัตถุจะตองเทียบกับจุดอางอิง หรือ ตาํ แหนง อางอิง ระยะทาง(Distance) ระยะทาง(Distance) คือ เสนทาง หรือความยาวตามเสนทางการเคล่ือนที่ จากตําแหนงเร่ิมตนถึงตําแหนงสุดทาย ระยะทางใชสัญญาลักษณ “S” เปนปริมาณสเกลาร มีหนวยเปน เมตร(m) การกระจัด(Displacement) การกระจัด(Displacement) คือ ความยาวเสนตรงท่ีเช่ือมโยงระหวาง จุดเรมิ่ ตน และจดุ สดุ ทายของการเคล่ือนท่ี การกระจัดใชสัญญาลักษณ s̅ เปนปริมาณเวกเตอร มีหนว ยเปน เมตร(m) ความแตกตางของระยะทางกับการกระจัด คือ ระยะทางข้ึนอยูกับเสนทางการ เคลื่อนท่ี สวนการกระจัด ขึ้นอยกู ับตําแหนงจุดเร่มิ ตนและตาํ แหนงสดุ ทาย

242 อตั ราเรว็ และความเร็ว อัตราเร็ว (Speed) หมายถึง ระยะทางที่วัตถุเคลื่อนท่ีไดในหนึ่งหนวยเวลา ใชสัญญา ลกั ษณ คอื V เปนปริมาณ สเกลาร มีหนวยเปน เมตร/วนิ าท(ี m/s) อตั ราเร็ว แบง เปน 3 แบบคอื 1. อตั ราเรว็ เฉลี่ย (vav) 2. อตั ราเรว็ ขณะใดขณะหนึ่ง (vt) 3. อตั ราเรว็ คงท่ี(v) 1. อัตราเร็วเฉล่ีย (vav) หมายถึง ระยะทางท่ีวัตถุเคล่ือนที่ไดในหนึ่งหนวยเวลา (ในชว งเวลาหนึ่งที่กําลงั พจิ ารณาเทาน้ัน) av = หรอื av = เมอ่ื ∆ , คือ ระยะทางท่ีเคล่อื นที่ ∆ , คอื ชว งเวลา ท่ีใชใ นการเคลอื่ นที่ av คือ อัตราเรว็ เฉลี่ย 2. อัตราเร็วขณะใดขณะหนง่ึ (vt) หมายถงึ ระยะทางที่วัตถุเคลื่อนท่ีไดในหน่ึงหนวย เวลา เม่ือชว งเวลาท่เี คล่อื นที่นอยมากๆ (vt เขาใกลศ นู ย) หรอื อตั ราเรว็ ขณะใดขณะหน่ึง คือ อัตราเร็ว ณ เวลาใดเวลาหน่งึ หรือ อัตราเร็วที่จุดใด จดุ หนึ่ง av = เมอ่ื (∆ 0) 3. อัตราเร็วคงท่ี (v) หมายถึง เปนการบอกใหทราบวาวัตถุมีการเคล่ือนที่อยาง สม่ําเสมอ ไมวา จะพจิ ารณาในชวงเวลาใดๆ = หมายเหตุ ถาวตั ถุเคลื่อนทีด่ ว ยอตั ราเรว็ คงท่ี อัตราเร็วเฉล่ีย อัตราเร็วขณะใดขณะหน่ึง จะมคี าเทา กบั อัตราเรว็ คงทีน่ ้ัน

243 ความเร็ว(Velocity) ความเรว็ (Velocity) คอื อตั ราเปล่ียนแปลงการกระจัดหรือการกระจัดที่เปล่ียนแปลง ไปในหน่ึงหนวยเวลา การกระจดั ( ⃗) เปนปรมิ าณเวกเตอร มีหนว ยเปนเมตร/วินาท(ี m/s) ความเร็วแบง ออกเปน 3 แบบ คือ 1. ความเรว็ เฉล่ีย ( ⃑av) 2. ความเร็วขณะใดขณะหน่ึง ( ⃑t) 3. ความเร็วคงท่ี ( ⃑) 1. ความเรว็ เฉลี่ย ( ⃑av) หมายถึง การกระจัดของวัตถุท่ีเปล่ียนไปในเวลาหนึ่งหนวย (ในชวงเวลาทีพ่ ิจารณา) ( ⃑av) = ∆⃑ หรือ ∆ 0 ∆⃑ ทิศทางของ ⃑av จะมที ศิ ทางเดยี วกบั ∆ ⃑ หรอื ⃑ เสมอ 2. ความเร็วขณะใดขณะหนงึ่ ( ⃑t) คอื ความเรว็ ณ เวลาใดเวลาหนึ่งหรือความเร็วท่ี จดุ ใดจุดหนึ่ง หมายถึง การกระจัดที่วัตถุเคล่ือนที่ไดในหนึ่งหนวยเวลาเม่ือชวงเวลาท่ีเคลื่อนท่ีนอย มากๆ (∆ เขา ใกลศนู ย) ( ⃑av) = ∆⃑ เมอ่ื (∆ 0) ∆⃑ 3. ความเร็วคงที่ ( ⃑) คอื เปน การบอกใหทราบวา วตั ถุมีการเคล่ือนท่ีอยางสมํ่าเสมอ ในแนวตรงไมว าจะพจิ ารณาเปนชวงเวลาใดๆ ⃑ = ∆⃑ ∆ วัตถุเคลื่อนท่ีเปนเสนตรง พบวา การกระจัดมีคาเทากับระยะทาง ดังน้ันขนาดของ ความเรว็ เฉลี่ย จะเทากับ อัตราเรว็ เฉลยี่

244 การเคล่ือนที่ในแนวดง่ิ การเคล่ือนท่ีในแนวดงิ่ ภายใตแรงดงึ ดดู ของโลก คือ การเคลือ่ นที่อยางอสิ ระของวตั ถุ โดยมีความเรงคงทเ่ี ทากบั ความเรงเนื่องจากแรงดึงดดู ของโลก (g) มที ิศพุง ลงสูจุดศูนยกลางของ โลก มีคา โดยเฉลย่ี ท่ัวโลกถอื เปนคามาตรฐาน มีคา เทา กบั 9.8065 m/s2 ลักษณะของการเคลอ่ื นทม่ี ี 3 ลกั ษณะ 1. ปลอยลงในแนวดิง่ ดว ยความเรว็ เทากบั ศูนย (u = 0) 2. ปาลงในแนวดิง่ ดวยความเร็วตน (u ‹ 0) 3. ปาขนึ้ ในแนวด่งิ ดวยความเรว็ ตน (u › 0)

245 วตั ถตุ กอยางอิสระ เปนการเคลื่อนท่ีดวย ความเรงคงที่ โดยวัตถุจะเคลื่อนที่ลงสูพ้ืน โลกดวยความเรง 9.8 เมตร/วินาที การคาํ นวณตามสตู ร สมการสาํ หรับคํานวณหาปริมาณตาง ๆ ของการเคลอ่ื นที่ของวตั ถภุ ายใตแรงดงึ ดูดของโลก ดังภาพ สมการสําหรับการคํานวณ วัตถุเคล่ือนที่เปนเสนตรง แตมี 2 ทิศทาง คือ ข้ึนและลง ดงั นัน้ ปริมาณเวกเตอรตา งๆ ตองกาํ หนดทิศทางโดยใชเคร่ืองหมาย บวก (+) และ ลบ (-) ดังภาพ


หน่วยที่ 1 เรื่อง ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

หน่วยที่ 1 เรื่อง ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

06_โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ตอนที่ 1 (คณิตศาสตร์ ม.1 เล่ม 2 บทที่ 1)


วีดิทัศน์นี้จัดทำขึ้นภายใต้โครงการ Project 14 ของ สสวท. ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ http://proj14.ipst.ac.th//

06_โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ตอนที่ 1  (คณิตศาสตร์ ม.1 เล่ม 2 บทที่ 1)

05_การแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ตอนที่ 2 (คณิตศาสตร์ ม.1 เล่ม 2 บทที่ 1)


วีดิทัศน์นี้จัดทำขึ้นภายใต้โครงการ Project 14 ของ สสวท. ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ http://proj14.ipst.ac.th//

05_การแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ตอนที่ 2  (คณิตศาสตร์ ม.1 เล่ม 2 บทที่ 1)

การหาจุดหลอมเหลวของสารบริสุทธิ์และสารละลาย (คู่มือครู)


วีดิทัศน์แสดงการหาจุดหลอมเหลวของสารบริสุทธิ์และสารละลาย

การหาจุดหลอมเหลวของสารบริสุทธิ์และสารละลาย (คู่มือครู)

โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์ (วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 หน่วยที่ 3 บทที่ 1 เซลล์)


วีดิทัศน์การจัดการเรียนรู้เกี่ยวกับโครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์ รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 1 หน่วยที่ 3 หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต บทที่ 1 เซลล์
วีดิทัศน์นี้จัดทำขึ้นภายใต้โครงการ Project 14 ของสสวท. ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ http://proj14.ipst.ac.th/

โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์ (วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 หน่วยที่ 3 บทที่ 1 เซลล์)

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆLEARN TO MAKE A WEBSITE

ขอบคุณมากสำหรับการดูหัวข้อโพสต์ เนื้อหา วิทยาศาสตร์ ม 1 ส สว ท

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *