Skip to content
Home » [NEW] คำศัพท์ ”*หลักประกัน*” แปลว่าอะไร? | หลักประกัน สังคม – NATAVIGUIDES

[NEW] คำศัพท์ ”*หลักประกัน*” แปลว่าอะไร? | หลักประกัน สังคม – NATAVIGUIDES

หลักประกัน สังคม: นี่คือโพสต์ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อนี้

guarantee(แกเรินที’) n. การประกัน,หลักประกัน,เครื่องประกัน,คำรับรอง,ผู้รับรอง,คนรับรอง vt. รับรอง,ประกัน,ค้ำประกัน,ให้คำมั่น,สัญญา, Syn. warranty, certify,affirm
pledge(เพลดจฺ) n. คำปฏิญาณ,คำมั่นสัญญา,ข้อผูกมัด,หลักประกัน,ผู้ค้ำประกัน,การวางมัดจำ,การดื่มอวยพร. -Phr. (take the pledge ให้คำมั่นสัญญาว่าจะไม่ดื่มสุรา) vt. ให้คำปฏิญาณ,ให้คำมั่น-สัญญาค้ำประกัน,วางมัดจำ,ดื่มอวยพร., See also: pledgeable adj. pledger

[NEW] คำศัพท์ ”*หลักประกัน*” แปลว่าอะไร? | หลักประกัน สังคม – NATAVIGUIDES

guarantee(แกเรินที’) n. การประกัน,หลักประกัน,เครื่องประกัน,คำรับรอง,ผู้รับรอง,คนรับรอง vt. รับรอง,ประกัน,ค้ำประกัน,ให้คำมั่น,สัญญา, Syn. warranty, certify,affirm
pledge(เพลดจฺ) n. คำปฏิญาณ,คำมั่นสัญญา,ข้อผูกมัด,หลักประกัน,ผู้ค้ำประกัน,การวางมัดจำ,การดื่มอวยพร. -Phr. (take the pledge ให้คำมั่นสัญญาว่าจะไม่ดื่มสุรา) vt. ให้คำปฏิญาณ,ให้คำมั่น-สัญญาค้ำประกัน,วางมัดจำ,ดื่มอวยพร., See also: pledgeable adj. pledger


ความรู้พื้นฐานประกันสังคม EP2 ประเภทของผู้ประกันตน ม.33 ม.39 ม.40


มาตรา ๓๓ ให้ลูกจ้างซึ่งมีอายุไม่ต่ำกว่าสิบห้าปีบริบูรณ์และไม่เกินหกสิบปีบริบูรณ์เป็นผู้ประกันตน
ลูกจ้างซึ่งเป็นผู้ประกันตนอยู่แล้วตามวรรคหนึ่ง เมื่อมีอายุครบหกสิบปีบริบูรณ์ และยังเป็นลูกจ้างของนายจ้างซึ่งอยู่ภายใต้บังคับแห่งพระราชบัญญัตินี้ ให้ถือว่าลูกจ้างนั้นเป็นผู้ประกันตนต่อไป
มาตรา ๓๙ ผู้ใดเคยเป็นผู้ประกันตนตามมาตรา ๓๓ โดยจ่ายเงินสมทบมาแล้วไม่น้อยกว่าสิบสองเดือน และต่อมาความเป็นผู้ประกันตนได้สิ้นสุดลงตามมาตรา ๓๘ (๒) ถ้าผู้นั้นประสงค์จะเป็นผู้ประกันตนต่อไป ให้แสดงความจำนงต่อสำนักงานตามระเบียบที่เลขาธิการกำหนดภายในหกเดือนนับแต่วันสิ้นสุดความเป็นผู้ประกันตน
จำนวนเงินที่ใช้เป็นฐานในการคำนวณเงินสมทบที่ผู้ประกันตนตามวรรคหนึ่งต้องนำส่งเข้ากองทุนตามมาตรา ๔๖ วรรคสาม ให้เป็นไปตามอัตราที่กำหนดในกฎกระทรวง ทั้งนี้ ให้คำนึงถึงความเหมาะสมกับสภาพทางเศรษฐกิจในขณะนั้นด้วย
ให้ผู้ประกันตนตามวรรคหนึ่งนำส่งเงินสมทบเข้ากองทุนเดือนละครั้งภายในวันที่สิบห้าของเดือนถัดไป
ผู้ประกันตนตามวรรคหนึ่งซึ่งไม่ส่งเงินสมทบหรือส่งไม่ครบจำนวนภายในเวลาที่กำหนดตามวรรคสาม ต้องจ่ายเงินเพิ่มในอัตราร้อยละสองต่อเดือนของจำนวนเงินสมทบที่ยังมิได้นำส่งหรือของจำนวนเงินสมทบที่ยังขาดอยู่นับแต่วันถัดจากวันที่ต้องนำส่งเงินสมทบ สำหรับเศษของเดือนถ้าถึงสิบห้าวันหรือกว่านั้นให้นับเป็นหนึ่งเดือน ถ้าน้อยกว่านั้นให้ปัดทิ้ง
มาตรา ๔๐ บุคคลใดซึ่งมิใช่ลูกจ้างตามมาตรา ๓๓ หรือไม่อยู่ในบังคับแห่งพระราชบัญญัตินี้อาจสมัครเข้าเป็นผู้ประกันตนตามพระราชบัญญัตินี้ได้ โดยแสดงความจำนงต่อสำนักงาน ทั้งนี้ คุณสมบัติของบุคคลดังกล่าวให้เป็นไปตามที่กำหนดในพระราชกฤษฎีกา
หลักเกณฑ์และอัตราการจ่ายเงินสมทบของผู้ประกันตน ประเภทของประโยชน์ทดแทนที่จะได้รับตามมาตรา ๕๔ ตลอดจนหลักเกณฑ์และเงื่อนไขแห่งสิทธิในการรับประโยชน์ทดแทน ให้ตราเป็นพระราชกฤษฎีกา
ให้รัฐบาลจ่ายเงินสมทบเข้ากองทุนตามอัตราที่กำหนดในกฎกระทรวง แต่ไม่เกินกึ่งหนึ่งของเงินสมทบที่ได้รับจากผู้ประกันตนตามวรรคหนึ่ง
======================================
บท/บรรยาย : ศราวุธ ชัยดี
บันทึกเสียง : PURE Studio
https://purestudio.simdif.com/

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

ความรู้พื้นฐานประกันสังคม EP2 ประเภทของผู้ประกันตน ม.33 ม.39 ม.40

Ep.94 | Update วงเงินค่าคลอดบุตร มีผลบังคับใช้ 1 มกราคม 2564 ใครมีสิทธิรับ และใช้เอกสารอะไรบ้าง


Ep.94 | Update เพิ่มวงเงินค่าคลอดบุตร สิทธิประโยชน์ประกันสังคม มีผลบังคับใช้ 1 มกราคม 2564
เงื่อนไขการเบิกค่าคลอด คือ ผู้ประกันตนที่ขอรับสิทธิ จะต้องจ่ายเงินสมทบมาแล้วไม่น้อยกว่า 5 เดือน เมื่อนับย้อนหลังไป 15 เดือน โดยการจ่ายเงินสมทบจะจ่ายแบบต่อเนื่องกันหรือไม่ต่อเนื่องกันก็ได้
เอกสารเบิกค่าคลอดบุตร • ผู้ประกันตนที่ขอรับสิทธิต้องกรอกแบบยื่นคำขอรับประโยชน์ทดแทน เอกสาร สปส.201 หน้าตาก็จะเป็นแบบนี้ค่ะ สามารถดาว์โหลดได้ที่เวปไซด์ประกันสังคม หรือจะไปกรอกเอกสารที่สำนักงานประกันสังคมเลยก็ได้เช่นกันค่ะ • ส่วนเอกสารแนบการเบิกค่าคลอดบุตร ประกอบด้วย สูติบัตรบุตรพร้อมสำเนา หากมีลูกแฝด ก็ให้แนบมาด้วย โดยจะนับเป็นการคลอด 1 ครั้งค่ะ หาเป็นผู้ประกันตนชายต้องมีสำเนาทะเบียนสมรสด้วย หรือหากกรณีไม่ได้จดทะเบียนสมรส ให้ใช้หนังสือรับรองผู้ประกันตนกรณีไม่มีทะเบียนสมรสแนบมาด้วยนะคะ
การรับเงินค่าคลอดบุตร หากกรณีผู้ประกันตนยื่นเรื่องเองที่สำนักงานประกันสังคม สามารถรับเป็นเงินสดได้เลย โดยจะต้องนำบัตรประจำตัวประชาชนไปแสดงเพื่อยืนยันการรับเงินด้วยค่ะ หรือกรณีรับผ่านธนาคาร จะต้องแนบสำเนาหน้าสมุดธนาคาร ที่เป็นชื่อบัญชีของผู้ประกันตนที่ยื่นเรื่องขอรับเงิน

Ep.94 | Update วงเงินค่าคลอดบุตร  มีผลบังคับใช้ 1 มกราคม 2564 ใครมีสิทธิรับ และใช้เอกสารอะไรบ้าง

มนุษย์เงินเดือนควรรู้!! \”14 โรค\” ยกว้น ที่ประกันสังคมไม่คุ้มครอง ศึกษาให้ดีก่อนใช้สิทธิ์!!


มนุษย์เงินเดือนควรรู้!! \”14 โรค\” ยกว้น ที่ประกันสังคมไม่คุ้มครอง ศึกษาให้ดีก่อนใช้สิทธิ์!!
ถ้าพูดถึง \”ประกันสังคม\” หลายคนที่ทำงานออฟฟิตคงรู้จักกันเป็นอย่างดีและหลายคนคงกำลังคิดว่า การมีเพียงประกันสังคมก็เกินพอแล้ว ไม่จำเป็นต้องมีประกันอื่นๆ อย่าง ประกันสุขภาพ ประกันชีวิต หรือประกันอุบัติเหตุแล้วก็ได้ แต่รู้หรือไม่ว่า สิทธิประกันสังคมนั้นไม่ได้ครอบคลุมอย่างไปทุกอย่างและยังมีโรคบางชนิดที่ไม่อยู่ในความคุ้มครองของประกันสังคม วันนี้เราได้รวบรวม 14 โรคที่ประกันสังคมไม่คุ้มครอง มาฝากทุกคน จะมีโรคอะไรบ้าง หรืออาการอะไรบ้าง ตามมาเช็คกันได้เลย!
1. โรคหรือการประสบอันตรายอันเนื่องมาจากการใช้สารเสพติด ตามกฎหมายว่าด้วยยาเสพติด
2. การรักษาโรคที่ต้องใช้ระยะเวลาการรักษาตัวในโรงพยาบาล ประเภทคนไข้ เกิน 180 วัน ใน 1 ปี
3. การบำบัดทดแทนไต ในกรณี ไตวายเรื้อรัง ยกเว้น

– กรณีไตวายเฉียบพลัน ที่มีระยะเวลารักษาไม่เกิน 60 วัน ให้มีสิทธิได้รับบริการทางการแพทย์

– กรณีเจ็บป่วยด้วยโรคไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย ให้สิทธิได้รับบริการทางการแพทย์ โดยการบำบัดทดแทนไตด้วยวิธีการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม วิธีการล้างช่องท้องด้วยน้ำยาอย่างถาวร และด้วยวิธีการปลูกถ่ายไต ตามหลักเกณฑ์เงื่อนไขและวิธีการปลูกถ่ายไต และอัตราที่กำหนดในประกาศจากสำนักประกันสังคม
4. การกระทำใดๆ เพื่อความสวยงามโดยไม่มีข้อบ่งชี้ทางการแพทย์ (ศัลยกรรม)
5. การรักษาที่ยังอยู่ในระหว่างการค้นคว้าทดลอง
6. การรักษาภาวะมีบุตรยาก
7. การตรวจเนื้อเยื่อเพื่อการผ่าตัดเปลี่ยนอวัยวะ ยกเว้นการตรวจเนื้อเยื่อเพื่อการปลูกถ่ายไขกระดูกของผู้ประกันตน ให้จ่ายค่าตรวจเนื้อเยื่อเท่าที่จ่ายจริงตามความจำเป็น แต่ไม่เกิน 7,000 บาทต่อราย ตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่คณะกรรมการแพทย์กำหนด
8. การตรวจใดๆ ที่เกินกว่าความจำเป็นในการรักษาโรค
9. การผ่าตัดเปลี่ยนอวัยวะ ยกเว้น
– การปลูกถ่ายไขกระดูก ให้จ่ายค่าบริการทางการแพทย์เหมาจ่ายในอัตรา 750,000 บาทต่อราย แก่สถานพยาบาลที่ให้บริการทางการแพทย์ แก่ผู้ประกันตนจนสิ้นสุดกระบวนการปลูกถ่ายไขกระดูก โดยจะต้องเป็นสถานพยาบาลที่คณะกรรมการแพทย์รับรอง และได้ทำข้อตกลงไว้กับสำนักงานในการให้บริการทางการแพทย์แก่ผู้ประกันตน กรณีการปลูกถ่ายไขกระดูกตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่กำหนด
– การผ่าตัดเปลี่ยนอวัยวะกระจกตา โดยให้เหมาจ่ายค่าบริการทางการแพทย์แก่สถานพยาบาล 20,000 บาท และให้ศูนย์ดวงตาสภากาชาตไทย 5,000 บาท ตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่กำหนด
10. การเปลี่ยนเพศ
11. การผสมเทียม
12. การบริการระหว่างรักษาตัวแบบพักฟื้น
13. ทันตกรรม ยกเว้น การถอนฟัน การอุดฟัน การขูดหินปูนและผ่าฟันคุด ให้ผู้ประกันตนมีสิทธิได้รับค่าบริการทางการแพทย์เท่าที่จ่ายจริงตามความจำเป็น แต่ไม่เกิน 900 บาทต่อครั้งและต่อปี กรณีใส่ฟันเทียมชนิดถอดได้บางส่วน มีสิทธิได้รับค่าบริการทางการแพทย์เท่าที่จ่ายจริง ไม่เกิน 1,500 บาท ภายในระยะเวลา 5 ปี แต่หากเป็นกรณีใส่ฟันเทียมที่ถอดได้ทั้งปาก จะมีสิทธิได้รับค่าบริการทางการแพทย์เท่าที่จ่ายจริง ไม่เกิน 4,400 บาท ภายในระยะเวลา 5 ปี
14. การทำแว่นตา

ทั้งนี้ ถึงแม้ว่าสิทธิประกันสังคมจะครอบคลุมการรักษาหลากหลายมากมาย แต่ก็ยังมีส่วนที่ยังไม่ได้คุ้มครองบางส่วน เพื่อความไม่ประมาทควรทำประกันรูปแบบอื่นๆ เพื่อความอุ่นใจในการใช้ชีวิตกันด้วยนะครับ เพราะของบางอย่าง \”มีแล้วอาจไม่ค่อยได้ใช้ ดีกว่าถึงเวลาที่ต้องใช้แต่กลับไม่มี\”

มนุษย์เงินเดือนควรรู้!! \

การคิดเงินบำนาญ ประกันสังคม


เงินชราภาพของกองทุนประกันสังคมจะมี 2 แบบคือ บำเหน็จ และบำนาญ
สำหรับคลิปนี้จะพูดถึงเรื่องของบำนาญล้วนๆ

การคิดเงินบำนาญ ประกันสังคม

ภารกิจ ของ สำนักงานประกันสังคม


ภารกิจ ของ สำนักงานประกันสังคม

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่LEARN TO MAKE A WEBSITE

ขอบคุณที่รับชมกระทู้ครับ หลักประกัน สังคม

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *