Skip to content
Home » [NEW] คำขึ้นต้นเพื่อทักทาย และคำลงท้ายปิดข้อความ ในจดหมายภาษาอังกฤษ | ไม่คุ้นเคย ภาษาอังกฤษ – NATAVIGUIDES

[NEW] คำขึ้นต้นเพื่อทักทาย และคำลงท้ายปิดข้อความ ในจดหมายภาษาอังกฤษ | ไม่คุ้นเคย ภาษาอังกฤษ – NATAVIGUIDES

ไม่คุ้นเคย ภาษาอังกฤษ: คุณกำลังดูกระทู้

เพราะเหตุที่ว่า ผมได้ทำเว็บไซต์ที่สื่อสารกับผู้เยี่ยมชมเป็นภาษาอังกฤษอยู่หลายเว็บ ในบางทีก็ลังเลอยู่เหมือนกันว่า ควรจะใช้คำขึ้นต้น (คำทักทาย)  และคำลงท้าย อย่างไรดีเพื่อตอบจดหมายอีเล็คโทรนิค ที่เราเรียกว่า

email

เพื่อสร้างปฏิสัมพันธ์กับผู้คนบนเว็บ  เช่นเดียวกันบนเว็บไซต์ส่วนใหญ่มักจะมีหน้าเว็บที่ใช้บอกเรื่องราวเกี่ยวกับตัวผู้เขียน คือ หน้าเกี่ยวกับฉัน (เรา) หรือในภาษาอังกฤษก็เป็นหน้า

about me, about us,

หรือ

about the authors

ก็จะต้องมีคำขึ้นต้น (คำทักทาย)  และคำลงท้าย ที่เหมาะสมกับอัตลักษณ์ของเว็บไซต์ และบุคลิกภาพของผู้เยี่ยมชมที่เราคาดเดาว่าน่าจะเป็นอย่างนั้น

 

คำขึ้นต้น (คำทักทาย) และคำลงท้าย ที่ใช้ในจดหมายภาษาอังกฤษ หรือสื่อต่าง ๆนั้น เราต้องให้ความสำคัญ และระมัดระวังในการที่จะเลือกใช้คำ หรือวลีให้ถูกกาลเทศะ ซึ่งพวกฝรั่งเองก็คงมีธรรมเนียมปฏิบัติสืบต่อกันมาด้วยเช่นกัน มาดูกันว่าคำ หรือวลีแบบไหนจะเหมาะสมกับใครกันบ้าง

 

ปกติคำขึ้นต้นที่ใช้สำหรับทักทาย และคำลงท้ายที่ใช้เพื่อจบการสนทนาในจดหมายภาษาอังกฤษ หรือภาษาอื่นใดก็แล้วแต่ สิ่งที่ควรทำเป็นอย่างยิ่งก็คือ ต้องพิจารณาให้แน่ชัดว่า เรากำลังจะส่งข้อความนั้นไปถึงใคร เพื่อที่จะเลือกคำขึ้นต้น (ทักทาย) และคำลงท้ายที่เหมาะสมได้ ซึ่งสามารถแบ่งลักษณะของจดหมายได้เป็น

3

ประเภทคือ

 

Table of Contents

:::

แบบเป็นทางการ (

Formal

)

 

ใช้ในกรณีที่เป็นจดหมายธุรกิจ หนังสือราชการ ข้อความถึงบุคคลสำคัญ สุนทรพจน์ เอกสารวิชาการ จดหมายสมัครงาน เช่น อีเมลจากธนาคารถึงลูกค้า หนังสือเวียนเพื่อทราบภายในกระทรวง หนังสือเรียนเพื่อพิจารณาถึงนายกรัฐมนตรี บันทึกการประชุมบริษัทถึงหุ้นส่วนจดทะเบียน  เป็นต้น

 

:::

แบบกึ่งทางการ (

Semi- Formal

)

 

ในกรณีที่ผู้ส่งจดหมายมีความสนิท หรือรู้จักกับผู้รับเป็นอย่างดี ในทางธุรกิจอาจใช้คำขึ้นต้น และคำลงท้ายเป็นแบบกึ่งทางการก็ได้เช่น บันทึกข้อความจากพนักงานบัญชีถึงผู้จัดการแผนกที่เป็นเพื่อนกัน หรือกรณีที่ผู้มีตำแหน่งสูงกว่ามีบันทึกสั่งงานมาถึงผู้ใต้บังคับบัญชา ก็สามารถทำหนังสือในลักษณะนี้ได้เช่นกันเช่น บันทึกการสั่งงานจากกรรมการผู้จัดการถึงผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อเป็นต้น

 

เป็นเรื่องที่อ่อนไหวเอามาก ๆ สำหรับผู้คิดจะทำหนังสือ หรือจดหมายแบบกึ่งทางการควรใคร่ครวญให้ดีเสียก่อน โดยเฉพาะเมื่อผู้ส่งมีฐานะหน้าที่การงานที่ต่ำกว่าผู้รับ การทำเป็นแบบทางการจะปลอดภัย และดูดีกว่า เพราะแม้ว่าเราจะสนิทสนมเป็นการส่วนตัวกับผู้รับ แต่บางทีจดหมายนั้นจำเป็นต้องถูกเวียนไปให้บุคคลอื่น ๆที่เกี่ยวข้องเพื่อรับทราบ หรือมีการสั่งงานจากผู้รับบนจดหมายนั้นถึงบุคคลอื่น ๆ จะได้ไม่น่าเกลียด

 

:::

แบบไม่เป็นทางการ (

Informal

)

 

ถ้าเราต้องการเขียนถึงเพื่อน คนรัก คนในครอบครัว แน่นอนว่าจดหมาย หรืออีเมล ที่มีคำทักทาย ละลงท้ายแบบไม่เป็นทางการนั้น จะเป็นทางเลือกที่ดูอบอุ่น คุ้นเคย เป็นกันเอง และจริงใจมากกว่า

 

คำขึ้นต้น หรือคำทักทายแบบเป็นทางการ

 

คำขึ้นต้นที่ใช้สำหรับการทักทายแบบเป็นทางการนั้น ควรเป็นคำที่แสดงความยอมรับนับถือ ที่ถูกเจือไปด้วยความอบอุ่น มีความเป็นมิตร และสุภาพเรียบร้อย โดยทั่วไปมักจะใช้คำว่า

Dear

และตามด้วย

 

:::

คำนำหน้าชื่อ นาย นาง นางสาว พลเอก ดอกเตอร์

 

:::

ชื่อสกุล

 

::;

เครื่องหมาย

colon :

 

เช่น

Dear Dr. Amante:

 

หมายถึง

Dear Dr. Wonka Amante

 

หรือ

 

:::

ตามด้วยชื่อ และนามสกุล โดยสามารถละคำนำหน้าชื่อได้

 

เช่น

Dear Wonka Amante:

 

หรือ

 

:::

ตามด้วยคำนำหน้าชื่อ

 

:::

ตามด้วยตำแหน่ง

 

เช่น

Dear Mr. President:

 

คำทักทายในภาษาอังกฤษในรูปแบบเป็นทางการ นอกจากคำว่า

Dear

แล้ว อาจใช้คำว่า

Attn.

แทนก็ได้ ในภาษาไทยหมายถึง เรียนคุณ  

…..

 

ปกติจดหมาย หรืออีเมลแบบเป็นทางการนั้นมักจะระบุชื่อ และนามสกุล แต่ในกรณีที่เราไม่ทราบชื่อที่แท้จริงก็อาจใช้เป็น

 

Dear Sir:

สำหรับสุภาพบุรุษ

 

Dear Madam:

สำหรับสุภาพสตรี

 

และถ้าหากไม่สามารถระบุได้อย่างเฉพาะเจาะจงในทุก ๆด้านทั้งชื่อ นามสกุล เพศ ตำแหน่ง ก็อาจใช้

 

To whom it may concern:

ก็ได้

 

คำขึ้นต้น หรือคำทักทายแบบกึ่งทางการ

 

คำทักทายขึ้นต้นใช้แบบเป็นทางการได้เลย เพียงแต่จะตามด้วยชื่อแรกของผู้รับ และตามด้วยเครื่องหมาย

colon :

เช่น

 

Dear Wonka:

 

คำขึ้นต้น หรือคำทักทายแบบไม่เป็นทางการ

 

จดหมาย หรืออีเมลแบบไม่เป็นทางการจะถูกใช้อยู่ในแวดวงเพื่อนฝูง หรือสมาชิกในครอบครัว คำขึ้นต้น หรือคำทักทายมักจะเปลี่ยนไปเป็นสำเนียงแบบภาษาพูด โดยใช้

Hi

หรือ

Hello

แล้วตามด้วยชื่อแรก และปิดลงด้วยเครื่องหมายจุลภาค

comma ,

เช่น

 

Hi Wonka,

หรือ

Hello Wonka,

คำลงท้ายที่ใช้ในจดหมายภาษาอังกฤษ


คำลงท้ายที่เรามักคุ้น ๆกันอยู่มีมากมาย เช่น 

Best, Regards, Yours, Sincerely, Yours, Yours truly, Best wishes, Loves, Hugs, Your friends, kisses

เป็นต้น เราสามารถเลือกคำลงท้ายเอามาใช้ได้ตามความเหมาะสม ซึ่งพอจะสรุปได้ตามนี้

 

::: Best, All the best, All best, Best regards, Best wishes

 

คำลงท้ายที่เกี่ยวพันกับคำว่า

Best

ได้รับการยอมรับว่าเป็นคำที่สุภาพ ที่สามารถใช้ได้กับจดหมายถึงเพื่อน กระทั่งถึงจดหมายธุรกิจ ซึ่งมีความหมายในทำนองที่ว่า ผู้ส่งมีความหวังว่าผู้ที่ได้รับจดหมายนี้จะพบเจอแต่ประสบการณ์ที่ดี และมีสิ่งดี ๆเข้ามาในชีวิตตลอดไป เป็นคำที่หวาน และผู้เชี่ยวชาญทางภาษาลงความเห็นว่าเป็นคำลงท้ายที่สามารถใช้ได้อย่างปลอดภัย และมีเสน่ห์

โดยคำว่า

Best, All best, All the best, Best wishes

จะเป็นคำลงท้ายแบบกึ่งเป็นทางการ

ในขณะที่

Best regards,

จะเป็นคำลงท้ายแบบเป็นทางการมากกว่า นอกจากนี้อาจใช้

Regards,

เฉย ๆก็ได้จะเป็นแบบกึ่งเป็นทางการ แต่ถ้าหากเติมเป็น

Warm regards,

ก็จะสร้างความอบอุ่นให้กับความรู้สึกของผู้รับได้อีกมากโขเลย

 

::: Sincerely, Sincerely yours,

 

Sincerely yours,

เป็นคำลงท้ายจดหมายแบบเป็นทางการที่นิยมใช้กันเป็นอย่างมาก เป็นทางเลือกที่ดีสำหรับผู้ส่งที่ยังไม่คุ้นเคยกับผู้รับเป็นอย่างดี ส่วน

Sincerely,

จะนิยมใช้แบบกึ่งเป็นทางการ

 

::: Yours, Yours truly,

 

เป็นคำที่ก้ำกึ่งระหว่างแบบเป็นทางการ และแบบไม่เป็นทางการ ซึ่งขึ้นกับเนื้อหาในจดหมาย และผู้ที่ได้รับจดหมายว่าเขาเป็นใคร หากผู้รับเป็นเพื่อนสนิท และเนื้อหาในจดหมายออกแนวขำ ๆก็อาจใช้เป็นคำลงท้ายแบบไม่เป็นทางการได้ แต่โดยปกติแล้ว

Yours truly,

จะใช้เป็นคำลงท้ายแบบเป็นทางการ และ

Yours,

จะเป็นแบบกึ่งเป็นทางการ นิยมใช้กับจดหมายที่มีเนื้อหาที่ผู้ส่งต้องการเน้นข้อความในจดหมายเพื่อแสดงความจริงใจ ที่จะอุทิศตนเพื่อทำอะไรบางอย่างให้แก่ผู้รับจดหมาย

 

::: Thanks, Thank you, Thank so much

 

คำลงท้ายเพื่อแสดงความขอบคุณในจดหมาย ควรถูกเลือกใช้ให้เหมาะสม ผู้ส่งบางคนมักจะคุ้นเคยกับการจบข้อความในจดหมายทุกฉบับด้วยคำว่า

Thanks,

จนเคยชิน ทั้งที่บางครั้งข้อความในจดหมายไม่ได้มีเนื้อหาที่ต้องไปขอบคุณผู้รับเลย มันอาจสร้างความสับสนให้กับผู้รับได้ว่า มาขอบคุณเขาเพื่อ

?

หรือบางทีเป็นจดหมายเพื่อสั่งงาน ที่ไม่จำเป็นต้องไปขอบคุณผู้รับเสียก่อนที่เขาจะได้เริ่มต้นทำงาน การขอบคุณควรทำเป็นจดหมายมาในภายหลัง เมื่องานสำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดีแล้ว

 

::: Speak to you soon, Look forward to speaking with you soon, See you soon, Talk to you later,

 

เป็นการจบการสนทนาทางอีเมล หรือจดหมายที่ค่อนข้างมีประสิทธิภาพ เป็นการให้คำมั่นสัญญาว่าจะมีการพูดคุยกันอีก ตามมาในภายหลัง ซึ่งมักจะเป็นการพูดคุยกันแบบเผชิญหน้า ที่จะนำมาถึงซึ่งข้อสรุป ข้อตกลงที่สำคัญ ๆ และทำให้ทั้งสองฝ่ายบรรลุวัตถุประสงค์ได้อย่างที่ต้องการ ซึ่งโดยปกติแล้ว วลีข้างต้นจะถูกใช้เป็นคำลงท้ายในแบบเป็นทางการ

 

:::

ไม่มีคำลงท้าย

 

การไม่มีคำลงท้ายในอีเมล หรือจดหมายอื่น ดูเหมือนจะเป็นเรื่องผิดปกติ แต่บางกรณีก็อาจอนุโลม หรือยอมรับได้ เช่นในกรณีที่มีการถาม

ตอบบนอีเมล ซ้ำไป ซ้ำมาหลาย ๆครั้งในวันนั้น คุณอาจมีคำลงท้ายอีเมลเพียงฉบับแรก และในฉบับต่อ ๆมาอาจละคำลงท้าย และชื่อของคุณไว้ก็ได้ แต่พึงระมัดระวังกับผู้รับที่เราไม่คุ้นเคยกันดีพอ

 

::: Take care,

 

เป็นคำลงท้ายจดหมายที่มีความหมายใกล้เคียงกับ คำในกลุ่ม

Best

คือขออย่าให้มีอุปสรรคเกิดขึ้นกับคุณเลย เป็นคำลงท้ายที่เป็นแบบกึ่งเป็นทางการ ที่อย่างน้อยผู้ส่งก็ควรจะคุ้นเคยกับผู้รับในระดับหนึ่ง

 

::: Cheers,

 

คงเคยได้ยินกันในวงเหล้า ถ้าถูกนำมาใช้ในจดหมาย ก็ให้ความหมายทีดีต่อความรู้สึกไม่น้อยทีเดียว

Cheers,

เป็นคำเบา ๆฟังสบาย ๆมองโลกในแง่บวก เหมือนกับเรากำลังส่งความปรารถนาดีให้กับผู้ที่รับจดหมาย เป็นคำหนึ่งที่ควรเก็บไว้ใช้ในกรณีที่คุณคุ้นเคยกับผู้รับ หรือผู้อ่านระดับหนึ่ง ผมเป็นคนหนึ่งที่เลือกใช้คำนี้ในเว็บไซต์ภาษาอังกฤษของผมเอง

 

::: XOXO

 

เป็นสัญลักษณ์ ที่หมายถึง

Hugs and Kisses 

X

 เป็นสัญลักษณ์ของ การกอด

เป็นสัญลักษณ์ของ การจุมภิต

คำลงท้ายแบบนี้ เหมาะใช้กับสาว ๆเท่านั้น ห้ามนำไปใช้กับเจ้านายเป็นเด็ดขาด

::: Yours friend,

 

แม้ว่าเป็นคำง่าย ๆ ทื่อ ๆแต่นี่ก็เป็นอีกคำหนึ่งที่ผมเลือกใช้ในเว็บไซต์ที่เผยแพร่เป็นภาษาอังกฤษของผม คำนี้ฟังดูอบอุ่น จริงใจ และตอกย้ำ เหมือนกับจะเตือนว่าไม่ว่าจะเกิดอะไรขึ้นก็ตาม

ผม

….Yours friend

 

::: Warmly,

 

คำนี้ก็น่านำไปใช้ ฟังแล้วรู้สึกดี เหมือนมีสัมผัส อบอุ่น จริงใจ

 

::: Onward,

 

คล้ายจะบอกว่าให้ มุ่งไปข้างหน้า ก้าวต่อไป เป็นคำที่ทรงพลัง เข้มแข็ง ให้กำลังใจ น่าใช้เป็นอย่างยิ่ง

ก่อนจบบทความนี้มีเกร็ดเล็ก ๆฝากไว้อีกนิดหน่อยคือ คำลงท้ายจดหมาย ควรขึ้นต้นด้วยอักษรตัวใหญ่ และหลังคำ หรือวลีนั้นให้ใส่เครื่องหมายจุลภาค

,

ไว้ด้วยทุกครั้ง อย่าลืมเซ็นชื่อ หรือพิมพ์ชื่อ ถ้ามี

Logo

หรือ

Profile Picture

ก็ใส่ด้วยผู้รับจะได้รู้สึกว่า นี่แหละเป็นอีเมล ของเขาจริง ๆ

 

คำขึ้นต้น หรือคำทักทาย และคำลงท้าย ที่ใช้ในจดหมายภาษาอังกฤษ ถ้าเลือกได้อย่างเหมาะสม และถูกกาลเทศะแล้ว จะเป็นผลดีกับตัวคุณ และกิจการงานต่าง ๆได้เป็นอย่างดี สำหรับคืนนี้ ฝันดี ราตรีสวัสดิ์ครับผม

 

Your friend,

Warmly,

Onward,

 

[NEW] คำขึ้นต้นเพื่อทักทาย และคำลงท้ายปิดข้อความ ในจดหมายภาษาอังกฤษ | ไม่คุ้นเคย ภาษาอังกฤษ – NATAVIGUIDES

เพราะเหตุที่ว่า ผมได้ทำเว็บไซต์ที่สื่อสารกับผู้เยี่ยมชมเป็นภาษาอังกฤษอยู่หลายเว็บ ในบางทีก็ลังเลอยู่เหมือนกันว่า ควรจะใช้คำขึ้นต้น (คำทักทาย)  และคำลงท้าย อย่างไรดีเพื่อตอบจดหมายอีเล็คโทรนิค ที่เราเรียกว่า

email

เพื่อสร้างปฏิสัมพันธ์กับผู้คนบนเว็บ  เช่นเดียวกันบนเว็บไซต์ส่วนใหญ่มักจะมีหน้าเว็บที่ใช้บอกเรื่องราวเกี่ยวกับตัวผู้เขียน คือ หน้าเกี่ยวกับฉัน (เรา) หรือในภาษาอังกฤษก็เป็นหน้า

about me, about us,

หรือ

about the authors

ก็จะต้องมีคำขึ้นต้น (คำทักทาย)  และคำลงท้าย ที่เหมาะสมกับอัตลักษณ์ของเว็บไซต์ และบุคลิกภาพของผู้เยี่ยมชมที่เราคาดเดาว่าน่าจะเป็นอย่างนั้น

 

คำขึ้นต้น (คำทักทาย) และคำลงท้าย ที่ใช้ในจดหมายภาษาอังกฤษ หรือสื่อต่าง ๆนั้น เราต้องให้ความสำคัญ และระมัดระวังในการที่จะเลือกใช้คำ หรือวลีให้ถูกกาลเทศะ ซึ่งพวกฝรั่งเองก็คงมีธรรมเนียมปฏิบัติสืบต่อกันมาด้วยเช่นกัน มาดูกันว่าคำ หรือวลีแบบไหนจะเหมาะสมกับใครกันบ้าง

 

ปกติคำขึ้นต้นที่ใช้สำหรับทักทาย และคำลงท้ายที่ใช้เพื่อจบการสนทนาในจดหมายภาษาอังกฤษ หรือภาษาอื่นใดก็แล้วแต่ สิ่งที่ควรทำเป็นอย่างยิ่งก็คือ ต้องพิจารณาให้แน่ชัดว่า เรากำลังจะส่งข้อความนั้นไปถึงใคร เพื่อที่จะเลือกคำขึ้นต้น (ทักทาย) และคำลงท้ายที่เหมาะสมได้ ซึ่งสามารถแบ่งลักษณะของจดหมายได้เป็น

3

ประเภทคือ

 

:::

แบบเป็นทางการ (

Formal

)

 

ใช้ในกรณีที่เป็นจดหมายธุรกิจ หนังสือราชการ ข้อความถึงบุคคลสำคัญ สุนทรพจน์ เอกสารวิชาการ จดหมายสมัครงาน เช่น อีเมลจากธนาคารถึงลูกค้า หนังสือเวียนเพื่อทราบภายในกระทรวง หนังสือเรียนเพื่อพิจารณาถึงนายกรัฐมนตรี บันทึกการประชุมบริษัทถึงหุ้นส่วนจดทะเบียน  เป็นต้น

 

:::

แบบกึ่งทางการ (

Semi- Formal

)

 

ในกรณีที่ผู้ส่งจดหมายมีความสนิท หรือรู้จักกับผู้รับเป็นอย่างดี ในทางธุรกิจอาจใช้คำขึ้นต้น และคำลงท้ายเป็นแบบกึ่งทางการก็ได้เช่น บันทึกข้อความจากพนักงานบัญชีถึงผู้จัดการแผนกที่เป็นเพื่อนกัน หรือกรณีที่ผู้มีตำแหน่งสูงกว่ามีบันทึกสั่งงานมาถึงผู้ใต้บังคับบัญชา ก็สามารถทำหนังสือในลักษณะนี้ได้เช่นกันเช่น บันทึกการสั่งงานจากกรรมการผู้จัดการถึงผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อเป็นต้น

 

เป็นเรื่องที่อ่อนไหวเอามาก ๆ สำหรับผู้คิดจะทำหนังสือ หรือจดหมายแบบกึ่งทางการควรใคร่ครวญให้ดีเสียก่อน โดยเฉพาะเมื่อผู้ส่งมีฐานะหน้าที่การงานที่ต่ำกว่าผู้รับ การทำเป็นแบบทางการจะปลอดภัย และดูดีกว่า เพราะแม้ว่าเราจะสนิทสนมเป็นการส่วนตัวกับผู้รับ แต่บางทีจดหมายนั้นจำเป็นต้องถูกเวียนไปให้บุคคลอื่น ๆที่เกี่ยวข้องเพื่อรับทราบ หรือมีการสั่งงานจากผู้รับบนจดหมายนั้นถึงบุคคลอื่น ๆ จะได้ไม่น่าเกลียด

 

:::

แบบไม่เป็นทางการ (

Informal

)

 

ถ้าเราต้องการเขียนถึงเพื่อน คนรัก คนในครอบครัว แน่นอนว่าจดหมาย หรืออีเมล ที่มีคำทักทาย ละลงท้ายแบบไม่เป็นทางการนั้น จะเป็นทางเลือกที่ดูอบอุ่น คุ้นเคย เป็นกันเอง และจริงใจมากกว่า

 

คำขึ้นต้น หรือคำทักทายแบบเป็นทางการ

 

คำขึ้นต้นที่ใช้สำหรับการทักทายแบบเป็นทางการนั้น ควรเป็นคำที่แสดงความยอมรับนับถือ ที่ถูกเจือไปด้วยความอบอุ่น มีความเป็นมิตร และสุภาพเรียบร้อย โดยทั่วไปมักจะใช้คำว่า

Dear

และตามด้วย

 

:::

คำนำหน้าชื่อ นาย นาง นางสาว พลเอก ดอกเตอร์

 

:::

ชื่อสกุล

 

::;

เครื่องหมาย

colon :

 

เช่น

Dear Dr. Amante:

 

หมายถึง

Dear Dr. Wonka Amante

 

หรือ

 

:::

ตามด้วยชื่อ และนามสกุล โดยสามารถละคำนำหน้าชื่อได้

 

เช่น

Dear Wonka Amante:

 

หรือ

 

:::

ตามด้วยคำนำหน้าชื่อ

 

:::

ตามด้วยตำแหน่ง

 

เช่น

Dear Mr. President:

 

คำทักทายในภาษาอังกฤษในรูปแบบเป็นทางการ นอกจากคำว่า

Dear

แล้ว อาจใช้คำว่า

Attn.

แทนก็ได้ ในภาษาไทยหมายถึง เรียนคุณ  

…..

 

ปกติจดหมาย หรืออีเมลแบบเป็นทางการนั้นมักจะระบุชื่อ และนามสกุล แต่ในกรณีที่เราไม่ทราบชื่อที่แท้จริงก็อาจใช้เป็น

 

Dear Sir:

สำหรับสุภาพบุรุษ

 

Dear Madam:

สำหรับสุภาพสตรี

 

และถ้าหากไม่สามารถระบุได้อย่างเฉพาะเจาะจงในทุก ๆด้านทั้งชื่อ นามสกุล เพศ ตำแหน่ง ก็อาจใช้

 

To whom it may concern:

ก็ได้

 

คำขึ้นต้น หรือคำทักทายแบบกึ่งทางการ

 

คำทักทายขึ้นต้นใช้แบบเป็นทางการได้เลย เพียงแต่จะตามด้วยชื่อแรกของผู้รับ และตามด้วยเครื่องหมาย

colon :

เช่น

 

Dear Wonka:

 

คำขึ้นต้น หรือคำทักทายแบบไม่เป็นทางการ

 

จดหมาย หรืออีเมลแบบไม่เป็นทางการจะถูกใช้อยู่ในแวดวงเพื่อนฝูง หรือสมาชิกในครอบครัว คำขึ้นต้น หรือคำทักทายมักจะเปลี่ยนไปเป็นสำเนียงแบบภาษาพูด โดยใช้

Hi

หรือ

Hello

แล้วตามด้วยชื่อแรก และปิดลงด้วยเครื่องหมายจุลภาค

comma ,

เช่น

 

Hi Wonka,

หรือ

Hello Wonka,

คำลงท้ายที่ใช้ในจดหมายภาษาอังกฤษ


คำลงท้ายที่เรามักคุ้น ๆกันอยู่มีมากมาย เช่น 

Best, Regards, Yours, Sincerely, Yours, Yours truly, Best wishes, Loves, Hugs, Your friends, kisses

เป็นต้น เราสามารถเลือกคำลงท้ายเอามาใช้ได้ตามความเหมาะสม ซึ่งพอจะสรุปได้ตามนี้

 

::: Best, All the best, All best, Best regards, Best wishes

 

คำลงท้ายที่เกี่ยวพันกับคำว่า

Best

ได้รับการยอมรับว่าเป็นคำที่สุภาพ ที่สามารถใช้ได้กับจดหมายถึงเพื่อน กระทั่งถึงจดหมายธุรกิจ ซึ่งมีความหมายในทำนองที่ว่า ผู้ส่งมีความหวังว่าผู้ที่ได้รับจดหมายนี้จะพบเจอแต่ประสบการณ์ที่ดี และมีสิ่งดี ๆเข้ามาในชีวิตตลอดไป เป็นคำที่หวาน และผู้เชี่ยวชาญทางภาษาลงความเห็นว่าเป็นคำลงท้ายที่สามารถใช้ได้อย่างปลอดภัย และมีเสน่ห์

โดยคำว่า

Best, All best, All the best, Best wishes

จะเป็นคำลงท้ายแบบกึ่งเป็นทางการ

ในขณะที่

Best regards,

จะเป็นคำลงท้ายแบบเป็นทางการมากกว่า นอกจากนี้อาจใช้

Regards,

เฉย ๆก็ได้จะเป็นแบบกึ่งเป็นทางการ แต่ถ้าหากเติมเป็น

Warm regards,

ก็จะสร้างความอบอุ่นให้กับความรู้สึกของผู้รับได้อีกมากโขเลย

 

::: Sincerely, Sincerely yours,

 

Sincerely yours,

เป็นคำลงท้ายจดหมายแบบเป็นทางการที่นิยมใช้กันเป็นอย่างมาก เป็นทางเลือกที่ดีสำหรับผู้ส่งที่ยังไม่คุ้นเคยกับผู้รับเป็นอย่างดี ส่วน

Sincerely,

จะนิยมใช้แบบกึ่งเป็นทางการ

 

::: Yours, Yours truly,

 

เป็นคำที่ก้ำกึ่งระหว่างแบบเป็นทางการ และแบบไม่เป็นทางการ ซึ่งขึ้นกับเนื้อหาในจดหมาย และผู้ที่ได้รับจดหมายว่าเขาเป็นใคร หากผู้รับเป็นเพื่อนสนิท และเนื้อหาในจดหมายออกแนวขำ ๆก็อาจใช้เป็นคำลงท้ายแบบไม่เป็นทางการได้ แต่โดยปกติแล้ว

Yours truly,

จะใช้เป็นคำลงท้ายแบบเป็นทางการ และ

Yours,

จะเป็นแบบกึ่งเป็นทางการ นิยมใช้กับจดหมายที่มีเนื้อหาที่ผู้ส่งต้องการเน้นข้อความในจดหมายเพื่อแสดงความจริงใจ ที่จะอุทิศตนเพื่อทำอะไรบางอย่างให้แก่ผู้รับจดหมาย

 

::: Thanks, Thank you, Thank so much

 

คำลงท้ายเพื่อแสดงความขอบคุณในจดหมาย ควรถูกเลือกใช้ให้เหมาะสม ผู้ส่งบางคนมักจะคุ้นเคยกับการจบข้อความในจดหมายทุกฉบับด้วยคำว่า

Thanks,

จนเคยชิน ทั้งที่บางครั้งข้อความในจดหมายไม่ได้มีเนื้อหาที่ต้องไปขอบคุณผู้รับเลย มันอาจสร้างความสับสนให้กับผู้รับได้ว่า มาขอบคุณเขาเพื่อ

?

หรือบางทีเป็นจดหมายเพื่อสั่งงาน ที่ไม่จำเป็นต้องไปขอบคุณผู้รับเสียก่อนที่เขาจะได้เริ่มต้นทำงาน การขอบคุณควรทำเป็นจดหมายมาในภายหลัง เมื่องานสำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดีแล้ว

 

::: Speak to you soon, Look forward to speaking with you soon, See you soon, Talk to you later,

 

เป็นการจบการสนทนาทางอีเมล หรือจดหมายที่ค่อนข้างมีประสิทธิภาพ เป็นการให้คำมั่นสัญญาว่าจะมีการพูดคุยกันอีก ตามมาในภายหลัง ซึ่งมักจะเป็นการพูดคุยกันแบบเผชิญหน้า ที่จะนำมาถึงซึ่งข้อสรุป ข้อตกลงที่สำคัญ ๆ และทำให้ทั้งสองฝ่ายบรรลุวัตถุประสงค์ได้อย่างที่ต้องการ ซึ่งโดยปกติแล้ว วลีข้างต้นจะถูกใช้เป็นคำลงท้ายในแบบเป็นทางการ

 

:::

ไม่มีคำลงท้าย

 

การไม่มีคำลงท้ายในอีเมล หรือจดหมายอื่น ดูเหมือนจะเป็นเรื่องผิดปกติ แต่บางกรณีก็อาจอนุโลม หรือยอมรับได้ เช่นในกรณีที่มีการถาม

ตอบบนอีเมล ซ้ำไป ซ้ำมาหลาย ๆครั้งในวันนั้น คุณอาจมีคำลงท้ายอีเมลเพียงฉบับแรก และในฉบับต่อ ๆมาอาจละคำลงท้าย และชื่อของคุณไว้ก็ได้ แต่พึงระมัดระวังกับผู้รับที่เราไม่คุ้นเคยกันดีพอ

 

::: Take care,

 

เป็นคำลงท้ายจดหมายที่มีความหมายใกล้เคียงกับ คำในกลุ่ม

Best

คือขออย่าให้มีอุปสรรคเกิดขึ้นกับคุณเลย เป็นคำลงท้ายที่เป็นแบบกึ่งเป็นทางการ ที่อย่างน้อยผู้ส่งก็ควรจะคุ้นเคยกับผู้รับในระดับหนึ่ง

 

::: Cheers,

 

คงเคยได้ยินกันในวงเหล้า ถ้าถูกนำมาใช้ในจดหมาย ก็ให้ความหมายทีดีต่อความรู้สึกไม่น้อยทีเดียว

Cheers,

เป็นคำเบา ๆฟังสบาย ๆมองโลกในแง่บวก เหมือนกับเรากำลังส่งความปรารถนาดีให้กับผู้ที่รับจดหมาย เป็นคำหนึ่งที่ควรเก็บไว้ใช้ในกรณีที่คุณคุ้นเคยกับผู้รับ หรือผู้อ่านระดับหนึ่ง ผมเป็นคนหนึ่งที่เลือกใช้คำนี้ในเว็บไซต์ภาษาอังกฤษของผมเอง

 

::: XOXO

 

เป็นสัญลักษณ์ ที่หมายถึง

Hugs and Kisses 

X

 เป็นสัญลักษณ์ของ การกอด

เป็นสัญลักษณ์ของ การจุมภิต

คำลงท้ายแบบนี้ เหมาะใช้กับสาว ๆเท่านั้น ห้ามนำไปใช้กับเจ้านายเป็นเด็ดขาด

::: Yours friend,

 

แม้ว่าเป็นคำง่าย ๆ ทื่อ ๆแต่นี่ก็เป็นอีกคำหนึ่งที่ผมเลือกใช้ในเว็บไซต์ที่เผยแพร่เป็นภาษาอังกฤษของผม คำนี้ฟังดูอบอุ่น จริงใจ และตอกย้ำ เหมือนกับจะเตือนว่าไม่ว่าจะเกิดอะไรขึ้นก็ตาม

ผม

….Yours friend

 

::: Warmly,

 

คำนี้ก็น่านำไปใช้ ฟังแล้วรู้สึกดี เหมือนมีสัมผัส อบอุ่น จริงใจ

 

::: Onward,

 

คล้ายจะบอกว่าให้ มุ่งไปข้างหน้า ก้าวต่อไป เป็นคำที่ทรงพลัง เข้มแข็ง ให้กำลังใจ น่าใช้เป็นอย่างยิ่ง

ก่อนจบบทความนี้มีเกร็ดเล็ก ๆฝากไว้อีกนิดหน่อยคือ คำลงท้ายจดหมาย ควรขึ้นต้นด้วยอักษรตัวใหญ่ และหลังคำ หรือวลีนั้นให้ใส่เครื่องหมายจุลภาค

,

ไว้ด้วยทุกครั้ง อย่าลืมเซ็นชื่อ หรือพิมพ์ชื่อ ถ้ามี

Logo

หรือ

Profile Picture

ก็ใส่ด้วยผู้รับจะได้รู้สึกว่า นี่แหละเป็นอีเมล ของเขาจริง ๆ

 

คำขึ้นต้น หรือคำทักทาย และคำลงท้าย ที่ใช้ในจดหมายภาษาอังกฤษ ถ้าเลือกได้อย่างเหมาะสม และถูกกาลเทศะแล้ว จะเป็นผลดีกับตัวคุณ และกิจการงานต่าง ๆได้เป็นอย่างดี สำหรับคืนนี้ ฝันดี ราตรีสวัสดิ์ครับผม

 

Your friend,

Warmly,

Onward,

 


เสียงสัตว์​ 100​ เสียงพร้อมภาพสัตว์​จริง​ประกอบ


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

เสียงสัตว์​ 100​ เสียงพร้อมภาพสัตว์​จริง​ประกอบ

เคย ไม่เคย ภาษาอังกฤษว่าอย่างไร


สอบถามเรื่องคอร์ส Line: Aj.Adam, Info.Hollywood, KhunBaiTuey
โทร 02 612 9300, 081 353 7810, 089 422 4546
รายละเอียดคอร์ส http://www.ajarnadam.tv/
เรียนกับอดัม: http://www.facebook.com/hollywoodlearning
สาขาเชียงใหม : http://www.facebook.com/hollywoodlearningcm
เรียนออนไลน์กับอดัม: http://www.ajarnadam.tv
FBของอดัม: http://www.facebook.com/AjarnAdamBradshaw
Twitter: http://twitter.com/AjarnAdam
FBของซู่ชิง: http://www.facebook.com/jitsupachin
YouTube ของซู่ชิง: http://www.youtube.com/user/jitsupachin
Twitter ซูชิง: http://twitter.com/Sue_Ching

เคย ไม่เคย ภาษาอังกฤษว่าอย่างไร

ไม่คุ้นเคย(Unfamiliar)-Why frank


4th single
Songไม่คุ้นเคย (Unfamiliar)
ArtistWhy frank
Lyrics\u0026vocalProud Kraturerk
GuitarSittichok Mangkonngam
Guitar\u0026ChorusPiratthima Vachiraprakarnsakul
KeyboardProud Kraturerk
BassSupanan Wataniyakun
DrumsPanot Jungcharoensukying
Special thanks
Ruengrong Jungcharoensukying
91Passport Studio Thailand
Produced by Why frank
FOLLOW ME :
facebook.com/whyfrankband
twitter.com/whyfrankband
IG : whyfrankband

ไม่คุ้นเคย(Unfamiliar)-Why frank

สอนพูดภาษาอังกฤษ(ฟรี)จากเริ่มต้นจนพูดคล่อง Level 1: EP.1 Language Basics


อยากฝึกพูดภาษาอังกฤษตัวต่อตัว หรือเรียนภาษาอังกฤษออนไลน์แบบบุฟเฟ่ต์
สมัครได้เลย ​https://www.unfoxenglish.com/
สอบถามแอดไลน์ ​https://lin.ee/5uEdKb7h

กลุ่มเฟสบุค https://www.facebook.com/groups/unfoxenglishcommunity/

เรียนตอนต่อๆไป
https://www.youtube.com/playlist?list=PLDFirtKulNk9TP14p0TWjl7bs84Ow1aC
อยากพูดภาษาอังกฤษได้เราก็ต้องฝึกพูด เริ่มต้นฝึกเหมือนเด็กทารกที่ค่อยๆหัดพูดตามพ่อแม่ทีละคำสองคำ เป็นกลุ่มคำ เป็นประโยค จนพูดได้ตามที่ใจนึกอยากจะพูด วิธีการเรียนรู้แบบธรรมชาตินี้จะทำให้เราเรียนรู้ได้เร็ว เข้าใจง่าย ไม่ต้องท่องจำ และที่สำคัญไม่ต้องแปลเป็นภาษาไทย แค่ทำความเข้าใจผ่านภาพที่เห็นเชื่อมโยงกับเสียงที่ได้ยิน เราก็จะได้เรียนรู้ภาษาอังกฤษไปโดยอัตโนมัติเหมือนกับที่เราเรียนรู้ภาษาแม่ได้อย่างธรรมชาติ
ภาษาอังกฤษเป็นเรื่องง่าย แต่เราอย่าไปทำให้มันยาก
ติดตามช่อง YouTube ส่วนตัว
ช่องยูทูปของแล็คต้า https://www.youtube.com/lactawarakorn
ช่องยูทูปของเบล https://www.youtube.com/bellvittawut
ติดตามช่องทางอื่นๆ และพูดคุยกันได้ที่
ชุมชนคนรักภาษาอังกฤษ https://www.unfoxenglish.com
FB: https://www.facebook.com/unfoxenglish
Twitter: https://www.twitter.com/unfoxenglish
Lacta’s IG: https://www.instagram.com/lactawarakorn
Bell’s IG: https://www.instagram.com/toshiroz
ติดต่องาน
Email: [email protected]
Line: http://nav.cx/oOH1Q6T
ภาษาอังกฤษ สอนภาษาอังกฤษ เรียนภาษาอังกฤษ

สอนพูดภาษาอังกฤษ(ฟรี)จากเริ่มต้นจนพูดคล่อง Level 1: EP.1 Language Basics

(Quiz) วิธีฝึกคิดเป็นภาษาอังกฤษไปเลย โดยไม่แปลเป็นไทยในหัวก่อน #KNDVocabClass | คำนี้ดี EP.393


หนึ่งในปัญหาใหญ่สุดของคนไทยที่อยากสปีกอิงลิชให้คล่องๆ คือการต้องแปลก่อนหนึ่งชั้นจากไทยเป็นอังกฤษในหัวแล้วค่อยพูดออกมา จึงทำให้เสียเวลาประมวลผล ก็จะไม่คล่องแคล่วเท่าที่ควร หนึ่งในการฝึกที่จะช่วยได้คือ ‘Identifying objects around you’ แปลว่าเห็นอะไรให้ฝึกนึกคำในหัวเป็นภาษาอังกฤษไปเลย ถ้ายังนึกไม่ออกว่าจะทำอย่างไร “How to stop translating in your head” วันนี้เรามีวิธีมาสาธิตกัน แนะนำให้ฟังพร้อมดูสไลด์ไปด้วยทาง YouTube คำนี้ดี วันละโหล
———————————————
THE STANDARD PODCAST : EYEOPENING FOR YOUR EARS
พอดแคสต์จากสำนักข่าว THE STANDARD
Website : https://www.thestandard.co/podcast
SoundCloud: https://soundcloud.com/thestandardpodcast
Spotify : https://open.spotify.com/show/7o7TF3zfPyoydhWxtGSzLC?si=Nb_LuV8NS3C9mJ6ePdXLA
Twitter : https://twitter.com/TheStandardPod
Facebook : https://www.facebook.com/thestandardth/
KNDVocabClass คำนี้ดี TheStandardPodcast TheStandardco TheStandardth

(Quiz) วิธีฝึกคิดเป็นภาษาอังกฤษไปเลย โดยไม่แปลเป็นไทยในหัวก่อน #KNDVocabClass | คำนี้ดี EP.393

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆLEARN FOREIGN LANGUAGE

ขอบคุณมากสำหรับการดูหัวข้อโพสต์ ไม่คุ้นเคย ภาษาอังกฤษ

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *