Skip to content
Home » [NEW] การใช้ประโยคอธิบายเหตุการณ์ในอดีต (Past simple tense) | กริยา ที่ เปลี่ยน รูป – NATAVIGUIDES

[NEW] การใช้ประโยคอธิบายเหตุการณ์ในอดีต (Past simple tense) | กริยา ที่ เปลี่ยน รูป – NATAVIGUIDES

กริยา ที่ เปลี่ยน รูป: คุณกำลังดูกระทู้

Table of Contents

เนื้อหาเรื่อง การใช้ประโยคอธิบายเหตุการณ์ในอดีต 

(Past simple tense)

Past Simple Tense คือประโยคที่ใช้อธิบายเรื่องราวที่เกิดขึ้นแล้ว และจบลงแล้ว   ขอให้สังเกตความแตกต่างระหว่างประโยคที่ที่ใช้อธิบายเรื่องราวที่เกิดขึ้นในปัจจุบันกับประโยคที่ใช้อธิบายเรื่องราวที่เกิดขึ้นและจบลงแล้ว ในอดีต

 ประโยค present tense : I get up at 6.30 am. everyday.

(ฉันตื่นนอนเวลาหกโมงครึ่งทุกวัน)

ประโยค past tense : I got up at 8.00 am. yesterday.

(เมื่อวานนี้ ฉันตื่นนอนแปดโมงเช้า)

จากประโยคสองประโยคข้างบน จะเห็นว่า มีความแตกต่างกันสองส่วนคือ

 ประโยค

Present tense

Past tense

คำกริยา

get

got

คำที่บอกเวลา

everyday

yesterday

โครงสร้าง  S + V2 +ส่วนขยาย

I

went out  last night.

We

cooked yesterday.

He/she it

moved out two weeks ago

You

worked late last week.

They

left the day before yesterday.

 

 คำหรือวลีที่ใช้ใน past tense

คำบอกเวลา เช่น

            yesterday (เมื่อวานนี้) the day before yesterday    (เมื่อวานซืนนี้)

last week  (หรือคำอื่นๆที่ ใช้ last นำหน้า  เช่น last year,  last month, etc.)

four weeks ago (หรือคำอื่นๆที่ ใช้ ago ลงท้าย  เช่น ten years ago, two
hours ago, etc.)

คำเหล่านี้มักจะวางไว้ท้ายประโยค  หรืออาจ วางไว้หน้าประโยคก็ได้    เช่น

            I washed my car  two weeks ago.หรือ Two weeks ago,I washed my car .

(ฉันล้างรถเมื่อสองสัปดาห์ที่แล้ว)

            She went to Korea last month.   หรือ  Last month, She went to Korea.

(หล่อนไปเกาหลีเมื่อเดือนที่แล้ว)

หลักการใช้
          1. ใช้อธิบายเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในอดีต และสิ้นสุดแล้ว มี  คำหรือวลีที่
บอกเวลาในอดีตกำกับด้วย เช่น
I saw you yesterday. (ฉันเห็นคุณเมื่อวานนี้)                                      ประธาน    –   I         กริยา – saw            คำหรือวลีที่ บอกเวลา   – yesterday.

He worked in Paris last year. (เขาทำงานที่ปารีสเมื่อปีที่แล้ว)  ประธาน    –  He         กริยา – worked     คำหรือวลีที่ บอกเวลา   – last year
2. ใช้อธิบายเหตุการณ์หนึ่งซึ่งกระทำเป็นประจำในอดีต แต่บัดนี้ไม่ได้ทำอีก เช่น
                When I was young, I walked to school everyday.
               (เมื่อฉันยังยังเด็ก ฉันเดินไปโรงเรียนทุกวัน) ปัจจุบันนี้เขาไม่ได้เดินไปโรงเรียนแล้ว    When I  was young –  เป็นข้อความที่บอกเวลาในอดีต   ข้อความนี้เรียกว่า dependent clause ซึ่งเป็นประโยคที่ไม่สมบูรณ์ในตัวเองต้องพึ่งพาประโยคอื่น จึงจะมีความหมายสมบูรณ์  ไม่สามารถใช้เพียงลำพังได้  คำกริยาที่ใช้ในข้อความนี้ ต้องอยู่ในรูปของ อดีต (“was” เป็น รูป อดีต ของ “is”)  ส่วน ประโยคหลัก     “I walked to school everyday”  –  I   ทำหน้าที่เป็นประธานของประโยค     walked to  (เดินไปยัง) เป็นกริยาที่บอกการกระทำในอดีต    school (โรงเรียน) ทำหน้าที่เป็นกรรม     everyday (ทุกวันในอดีต)   ทราบจากข้อความที่บอกว่า  When I was young.
การกระทำที่เกิดขึ้นในอดีต คือในเวลาที่ล่วงเลยมาแล้ว โดยปกติเราจะพบ Adverbs of Time ที่บอกเวลาอดีตกำกับไว้เสมอ เช่น
  yesterday  (เมื่อวานนี้)      this morning  (เมื่อเช้านี้)     the day before yesterday (เมื่อวานซืนนี้)

คำที่ขึ้นต้นด้วย “last”   เช่น  last night ( เมื่อคืนที่แล้ว)    last week   (สัปดาห์ที่แล้ว)    last month  (เดือนที่แล้ว)  last Saturday  (วันเสาร์ที่แล้ว)           last January  (เดือนมกราคมที่แล้ว)
                        คำที่ลงท้ายด้วย “ago”  เช่น  a month ago (เมื่อเดือนที่ผ่านมาแล้ว)                  two years ago  (สองเดือนที่ผ่านมาแล้ว)          five hours ago  (ห้าชั่วโมงที่ผ่านมาแล้ว)            six weeks ago (หกสัปดาห์ที่ผ่านมาแล้ว)    a moment ago   (เมื่อสักครู่นี้)  เวลาซึ่งเป็นปี ค.ศ. ในอดีต    ขึ้นต้นด้วย  “in”   เช่น    in 1999                                 

รูปประโยคบอกเล่า  (Affirmative Sentence)
ประธาน + กริยาช่องที่ 2 (โดยการเปลี่ยนรูป หรือ เติม ed)

Present Simple
Past Simple

He plays football every day
He played football yesterday.

walk to work every day.
walked to work ten years ago.

She washes her clothes herself every day.
She washed her clothes herself last year.

หลักการเติม ed ที่คำกริยา

1. กริยาที่ลงท้ายด้วย e ให้เติม d ได้เลย เช่น

love – loved = รัก                   move – moved= เคลื่อน

hope – hoped = หวัง

2. กริยาที่ลงท้าย ด้วย y และหน้า y เป็นพยัญชนะ ให้เปลี่ยน y เป็น I แล้วเติม ed เช่น

cry – cried = ร้องไห้             try – tried = พยายาม

marry – married = แต่งงาน

ข้อยกเว้น ถ้าหน้า y เป็นสระ ให้เติม ed ได้เลย เช่น

play – played = เล่น            stay – stayed = พัก , อาศัย

enjoy – enjoyed = สนุก        obey – obeyed = เชื่อฟัง

3. กริยาที่มีพยางค์เดียว มีสระตัวเดียว และลงท้ายด้วยพยัญชนะที่เป็นตัวสะกดตัวเดียวให้เพิ่มพยัญชนะที่ลงท้ายอีก 1 ตัว แล้วเติม ed เช่น

plan – planned = วางแผน     stop – stopped = หยุด

beg – begged = ขอร้อง

4. กริยาที่มี 2 พยางค์ แต่ลงเสียงหนักพยางค์หลัง และพยางค์หลังนั้น มีสระตัวเดียว และลงท้ายด้วยพยัญชนะที่เป็นตัวสะกดตัวเดียว ให้เพิ่มพยัญชนะที่ลงท้ายอีก 1 ตัว แล้วเติม ed เช่น

concur – concurred = ตกลง, เห็นด้วย          occur – occurred = เกิดขึ้น

refer – referred = อ้างถึง                           permit – permitted = อนุญาต

 ถ้าออกเสียงหนักที่พยางค์แรก ไม่ต้องเติมพยัญชนะตัวสุดท้ายเข้ามา เช่น

cover – covered = ปกคลุม                        open – opened = เปิด

5. นอกจากกฏที่กล่าวมาแล้วข้างต้น เมื่อต้องการให้เป็นช่อง 2 ให้เติม ed ได้เลย เช่น

walk – walked = เดิน                              start – started = เริ่ม

worked – worked = ทำงาน

ประโยคคำถาม (Interrogative)   

            1. ประโยคที่มีกริยา verb to be ( was, were )    เมื่อต้องการเปลี่ยนประโยคประเภทนี้ให้เป็น คำถาม ให้ย้าย verb to beมาวางไว้หน้า  แล้วใส่เครื่องหมาย “?” ท้ายประโยค  เช่น

ประโยคบอกเล่า

ประโยคคำถาม

He was  at school yesterday.
Was he at school yesterday?

They were at home   yesterday.
Were they were at home   yesterday ?

2. ประโยคประเภทอื่นๆที่ไม่อยู่ในกฎข้อ 1  เมื่อต้องการทำเป็น past tense ให้ใช้กริยา “Did” มาช่วย  และเมื่อใช้กริยา “Did” มาช่วยแล้ว  กริยาเดิมในประโยคคำถามต้องเปลี่ยนรูปให้เป็นกริยาช่องที่ 1 ด้วย
                          Did + ประธาน + กริยารูปเดิม+ ส่วนขยาย

ประโยคบอกเล่า

ประโยคคำถาม

He walked to work yesterday.
Did he walk to work yesterday?

They worked late last night.
Did they work late last night?

Rob did the exercise last week.
Did Rob do the exercise last week?

สำหรับตัวอย่างในประโยคสุดท้าย คำกริยา “ did ” เป็นกิริยาช่วย ในการเปลี่ยนประโยคให้เป็น past tense นั้น ไม่มีคำแปล  แต่ “ did ” ซึ่ง เป็นกริยาแท้ในประโยคบอกเล่า มีความหมายว่า  “ ทำ ” เมื่อใช้ “ did ” มาช่วยแล้ว ” “ did ” ซึ่ง เป็นกริยาแท้ต้องเปลี่ยนกลับไปเป็น “ do”

 ประโยคปฏิเสธ (Negative)   

สำหรับประโยคแบบที่ 1  ให้เติม  “not” หลังกริยาได้เลย  เช่น

ประโยคบอกเล่า

ประโยคปฏิเสธ

He was at work yesterday.
He was not at work yesterday.

They were at the party last night.
They were not at the party last night.

ในประโยคปฏิเสธ, was not  หรือ were not สามารถเขียนแบบย่อได้
            was not   เขียนย่อได้ เป็น   wasn’t          were not  เขียนย่อได้ เป็น  weren’t           

ส่วนประโยคแบบที่ 2 ให้ใช้กริยา “ did ” เข้ามาช่วย แล้วเติม “not” ท้ายคำว่า  “ did ” (หรือใช้รูปย่อ : didn’t  ก็ได้)
ประธาน + didn’t + กริยารูปเดิม+ ส่วนขยาย

ประโยคบอกเล่า

ประโยคปฏิเสธ

ประโยคคำถาม

He walked to work yesterday.
He didn’t walk to work yesterday.
Did he walk to work yesterday?

They worked late last night.
They didn’t work late last night.
Did they work late last night?

  

[NEW] หลักการใช้ Past Simple Tense มีหลักการอย่างไร และต้องใช้เมื่อไหร่ | กริยา ที่ เปลี่ยน รูป – NATAVIGUIDES

ก่อนอื่นเราต้องเข้าใจก่อนว่า Past Simple Tense นั้น เป็นรูปประโยคที่ใช้บอกเล่าเกี่ยวกับอดีตที่ผ่านมาแล้ว และได้สิ้นสุดไปแล้ว โดยโครงสร้างของประโยคชนิดนี้จะเป็น Subject + Verb2 ตลอดเวลา

หลักการในการใช้

Past simple structure

โครงสร้างประโยคของ Past Simple

สรุปง่ายก็คือ ถ้าเราต้องการพูดถึงอดีต หลังจากประธานของโยค ต้องตามด้วยกริยาที่เป็นอดีตเสมอ ซึ่งกริยาที่เป็นอดีต หรือ Verb2 นั้น ก็มี 2 แบบด้วยกัน นั่นก็คือ Regular verbs หรือ กริยาปกติที่ไม่เปลี่ยนรูป และ Irregular verbs หรือ กริยาที่ไม่ปกติ มีการเปลี่ยนรูปเมื่อกลายเป็นอดีต

Regular verbs (กริยาที่ไม่มีการเปลี่ยนรูป แค่เติม -ed)

โดยปกติแล้ว Verb2 หรือกริยาที่ไม่เปลี่ยนรูปจะลงท้ายด้วย -ed เสมอ เรียกว่า regular verb แค่เติม -ed ท้ายกริยานั้นๆ ก็กลายเป็นอดีตเลย บอกหมายถึงว่า ทำไปแล้วนะ

ยกตัวอย่างประโยค

  • I work in the car industry now. Before that, I worked in a supermarket.

แปลว่า ตอนนี้ฉันทำงานอยู่ในอุตสาหกรรมการผลิตกาว แต่ก่อนหน้านั้น ฉันทำงานในซูเปอร์มาเก็ต

อธิบาย เพื่อนๆเห็นอะไรไหมครับ ประโยคแรกเราใช้แค่ work ธรรมดา ซึ่งบอกว่าเราทำอยู่ตอนนี้เป็นปกติ หรือ Present Simple Tense แต่ก่อนหน้านั้น เพราะเป็นช่วงเวลาที่จบไปแล้วในอดีต เราเลยใช้ Past Simple เพื่อกล่าวถึงอดีต เราเลยเติม -ed เข้าไปหลัง work ซึ่งเป็นกริยา เลยกลายเป็น worked เป็นอดีตเรียบร้อย

 

  • He passed her examination because he studied very hard

แปลว่า เขาสอบผ่านเพราะเขาเรียนหนักมาก

อธิบาย สังเกตที่กริยาทั้ง 2 ตัวนี้ นั่นก็คือ passed และ studied จะเป็นกริยาที่เติม -ed ทั้งคู่ เพราะช่วงเวลาที่เราพูด เขาได้ผ่านมาแล้ว ก็คือสอบผ่านแล้วนั่นเอง เลยทำให้เราต้องเติม -ed หลังกริยา

Irregular verbs (กริยาที่มีการเปลี่ยนรูปเมื่อเป็นอดีต)

ลักษณะของกริยาชนิดนี้ จะมีการเปลี่ยนรูปเป็นคำอื่น เมื่อกลายเป็นอดีต มีชื่อเรียกว่า Irregular verb เช่น go/went/gone ถ้าเพื่อนๆสังเกตจะเห็นว่า มีการเปลี่ยนคำไปเลย ไม่ใช่ go เติม -ed เป็น goed อันนี้ผิดนะครับ

ยกตัวอย่างประโยค

  • I saw him a few days ago

แปลว่า ฉันเห็นเขาเมื่อไม่กี่วันก่อน

อธิบาย ถ้าสังเหตุจากประโยคนี้ เราไม่ใช้คำว่า see ที่เป็นกริยาปกติ แต่เราใช้ saw ที่เป็นช่อง2 ของ see เพื่อเล่าถึงเหตุการณ์ในอดีตว่า เห็นเขาเมื่อไม่กี่วันก่อน

 

  • She went to market last week.

แปลว่า เธอไปตลาดเมื่อสัปดาห์ที่แล้ว

อธิบาย อย่างในประโยคนี้ เราไม่ใช้คำว่า go เพราะเป็นการพูดถึงอดีตที่ผ่านมาในสัปดาห์ที่แล้ว แต่เราใช้คำว่า went แทน ซึ่งเป็นกริยาช่องที่2 ของคำว่า go

ตาราง Irregular verbs กริยาเปลี่ยนรูปที่ใช้บ่อย

Irregular verbs table

ตาราง Irregular verbs

(เพิ่มเติม)

แต่ก็มี Verb2 บางคำที่ไม่ต้องมีการเปลี่ยนแปลงเลย รวมถึงไม่ต้องเติม -ed ด้วย ดังตารางต่อไปนี้

verbs in the same form

ตาราง Irregular verbs ที่ไม่เปลี่ยนรูป ไม่เติม -ed

การตั้งคำถามใน Past simple Tense

สำหรับการตั้งคำถามใน Past simple ที่เกี่ยวกับอดีตที่ผ่านมาแล้วนี้ เราจะใช้ Did สำหรับ Positive questions และ Didn’t สำหรับ Negative questions ตามด้วย Subject และ Verb infinitive (go, see, buy etc.) หรือกริยาที่เราใช้กันปกตินั่นเอง ไม่ต้องมีการเติม -ed หรือเปลี่ยนรูปใดๆทั้งสิ้น ตามโครงสร้างด้านล่างนี้

Past simple Tense question

โครงสร้างประโยคของการตั้งคำถามใน Past Simple Tense

ยกตัวอย่าง

  • A: Did you enjoy the film last night?

B: I didn’t enjoy much. So, I went to the party instead.

 

A: หนังที่คุณดูเมื่อคืนสนุกไหม

B: ฉันไม่ค่อยสนุกเท่าไหร่ฉันก็เลยไปปาตี้แทน

 

อธิบาย ในประโยคคำถามที่นาย A ถามนั้น เมื่อพูดถึงอดีตหรือในกรณีนี้คือ เมื่อคืนที่ผ่านมา นาย A จะใช้ Did นำหน้าประโยค + Subject + Verb ปกติ เพราะ Did ได้เป็นอดีตไปแล้ว เราจะไม่ใช้  Verb ที่เป็นอดีตซ้ำนะครับ

 

  • A: Didn’t you do anything at the weekend?

B: Yes, I didn’t do anything.

 

A: คุณไม่ได้ทำอะไรในวันหยุดเลยหรือ

B: ใช่แล้ว ฉันไม่ได้ทำอะไรเลย

 

อธิบาย เมื่อนาย A ถามนาย B ว่า นายไม่ได้ทำอะไรในวันหยุดเลยใช่ไหมในวันหยุด แต่ในประโยคนี้มีการใช้ Didn’t แสดงว่า ต้องเป็นวันหยุดที่ผ่านมาแล้ว และตามโครงสร้างประโยคคือ Did/didn’t + Subject + ด้วย Verb Infinitive นั่นก็คือ do นั่นเอง เราไม่สามารถพูดว่า Didn’t you did อันนี้ผิดนะครับ ไม่สามารถใช้ได้

ประโยคปฏิเสธ หรือ Negative sentences ใน Past simple Tense

พูดถึงเรื่องประโยคปฏิเสธ ในประโยคชนิดนี้ จะเป็น Subject + didn’t + verb infinitive ตลอดเวลานะครับ

Negative sentences in Past simple

โครงสร้างประโยคของ Negative sentence ใน Past simple Tense

ยกตัวอย่าง

  • They didn’t invite her to the party, so she didn’t go.

แปลว่า พวกเขาไม่ได้ชวนเธอไปปาตี้ ดังนั้น เธอจึงไม่ได้ไป

อธิบาย ในประโยคนี้พูดถึงอดีตที่ผ่านมาแล้วและเป็น negative sentence หรือ ประโยคปฏิเสธ จึงใช้ didn’t และตามด้วยกริยาแบบธรรมดาก็คือ invite และ go นั่นเอง

 

  • I called him but he didn’t answer me.

แปลว่า ฉันโทรหาเขา แต่เขาไม่ได้รับสายฉัน

อธิบาย ในประโยคนี้มีการใช้ Called ก่อน ซึ่งแสดงถึงอดีตที่ได้ทำไปแล้วคือการโทรหา แต่เขาไม่ได้รับสายฉันเป็น Negative เราเลยเติม didn’t ตามด้วย Verb ปกติ นั่นก็คือ answer นั่นเอง

อดีตของ am/is/are

ถ้าในประโยคนั้นเป็น verb to be (am/is/are) เราจะใช้ was/were แทน

past of am/is/are

โครงสร้างของ อดีตของ am/is/are

ยกตัวอย่าง

  • Was the weather good when you were on holiday?

แปลว่า อากาศวันนั้นดีใช่ไหม ตอนที่คุณพักผ่อนในวันหยุดของคุณ

อธิบาย ที่ต้องใช้ Was เพราะว่า กล่าวถึงอดีตที่ได้ผ่านมาแล้วตอนวันหยุดของเขา เราไม่สามารถใช้ Is the weather เพื่อพูดถึงอดีตได้ และ you ตามหลังด้วย were ซึ่งเป็นอดีตเช่นกัน ถ้าเราใช้ When you are on holiday อันนี้ผิดนะครับ

 

  • They weren’t able to come because they were so tired.

แปลว่า พวกเขาไม่สามารถมาได้เพราะว่าพวกเขาเหนื่อยมาก

อธิบาย อยากประโยคนี้พูดถึงอดีตแต่ประธานเป็น They ซึ่งเป็นหลายคน ดังนั้นเราจึงใช้ were นะครับ

E

ng

Convo

Th

ai

land

ค้นหาคอร์สเรียนที่เหมาะกับคุณ ติดต่อเราเลย






สรุป

สำหรับหลักการใช้ Past simple tense นั้น ง่ายเลยก็คือ ประธาน แล้วตามด้วย Verb2 ซึ่งส่วนมาก Verb ชนิดนี้จะเติม -ed ไว้ด้านหลัง จะมีแค่กริยาบางคำเท่านั้นที่มีการเปลี่ยนคำไปใช้อย่างอื่นเลย ซึ่งตรงนี้ไม่มีทางลัดนะครับ ต้องอาศัยการฝึกฝน และความจำอย่างเดียวครับ แต่จริงๆก็มีแค่ไม่กี่คำครับ ไม่ยากจนเกินไปแน่นอน ส่วนเรื่องการตั้งคำถามในโครงสร้างประโยคแบบนี้ ก็แค่ใส่ Did หรือ Didn’t ถ้าเป็น Negative question แล้วตามด้วยประธาน และใส่เป็น Verb ธรรมดาที่ไม่ต้องมีการแปลงรูปใดๆทั้งสิ้น ส่วนถ้าเป็นอดีตของ Verb to be เราก็แปลงเป็น was และ were แทน

หวังว่าคงไม่ยากเกินไปนะครับสำหรับเรื่องของ Past simple tense เราสถาบันสอนภาษาอังกฤษ EngConvo Thailand ขอเป็นกำลังให้เพื่อนทุกคนที่กำลังฝึกฝนภาษาอังกฤษนะครับ สำหรับใครที่สนใจการเรียนภาษาอังกฤษ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของการสื่อสารทั่วไป หรือใช้เพื่อการทำงาน หรือต้องการสัมภาษณ์งาน เรามีคอร์สเรียนภาษาอังกฤษออนไลน์ที่สามารถตอบโจทย์ผู้เรียนได้ทุกรูปแบบนะครับ และยังสามารถออกแบบคอร์สได้ตามต้องการอีกด้วย ถ้าเพื่อนๆสนใจสามารถติดต่อเราได้เลยนะครับ


แปลงร่างเป็นยานพาหนะ! (ได้ทั้งหมด)


มาเล่นแปลงร่างกันเถอะ ไม่ว่าจะทางบก อากาศ และทางน้ำ
เพื่อพิชิตแข่งขันกับผู้เล่นที่เป็นบอท เราต้องเปลี่ยนร่างอย่างรวดเร็ว เพื่อให้เข้ากับสภาพแวดล้อม และกลายเป็นผู้ชนะ ชอบใจคลิปนี้กด Like 👍👍

เล่นเกมนี้: https://play.google.com/store/apps/details?id=com.game.shape.shift\u0026hl=th
TORtorpedo เกมมือถือ แข่งรถ
▬▬▬
ช่องทางติดตาม TOR Torpedo :
🚀 Fanpage : https://www.fb.com/torpedo702
📷 IG : https://www.instagram.com/torpedo702
🎵 TikTok : https://www.tiktok.com/@702torpedo
💼 ติดต่องาน : [email protected]

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

แปลงร่างเป็นยานพาหนะ! (ได้ทั้งหมด)

จีนล้ำหน้าไปไกล ผลิตครื่องกรีดยางอัตโนมัติ โดยไม่ต้องใช้คนกรีด


วันนี้ยายผึ้งจะพามาเบิ่งเครื่องกรีดยางอัตโนมัติ เทคโนโลยีจากประเทศจีน 15/2/63

จีนล้ำหน้าไปไกล ผลิตครื่องกรีดยางอัตโนมัติ โดยไม่ต้องใช้คนกรีด

การเปลี่ยนรูปคำกริยาตามเวลาที่ใช้ / เรียนภาษาอังกฤษฟรีกับ #enroomlive ครั้งที่ 14


enroomlive ห้องเรียนภาษาอังกฤษฟรีเพื่อการย้ายประเทศ
ครั้งที่ 14 ประจำวันที่ 1 พฤศจิกายน 2021
หัวข้อหลักวันนี้
การเปลี่ยนรูปคำกริยา (verbs) ตามเวลาที่ใช้
แบบฝึกหัด
รับชมทาง Facebook ได้ที่: https://bit.ly/3omWaUs
enroomlive ห้องเรียนภาษาอังกฤษฟรีเพื่อการย้ายประเทศ
ทุกวันจันทร์และอังคาร หกโมงครึ่งถึงหนึ่งทุ่ม

การเปลี่ยนรูปคำกริยาตามเวลาที่ใช้ / เรียนภาษาอังกฤษฟรีกับ #enroomlive ครั้งที่ 14

Present subjunctive: กริยาที่ไม่เปลี่ยนรูป/English FOR-U with Dr.Preecha


Present subjunctive คือกริยาที่ไม่เปลี่ยนรูป เช่น be, have, go, drink โดยที่ไม่ต้องเติมอะไรลงไปในกริยา เราจะใช้กริยารูปเดิมที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลงรูป ในประโยคที่ตามหลังสำนวนภาษากลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง เช่น suggest that, move that, It’s essential that…. ดังรายละเอียดในคลิปนี้/English FORU with Dr.Preecha/Email: spreecha04/Tel: 0819733383

Present subjunctive: กริยาที่ไม่เปลี่ยนรูป/English FOR-U with Dr.Preecha

Tenses – คำกริยาภาษาอังกฤษ มันเปลี่ยนรูปได้ รู้ยัง (กริยาลอดช่อง เอ้ย! 3 ช่อง ครับ)


Download slide here http://adf.ly/1as9NB

Tenses - คำกริยาภาษาอังกฤษ มันเปลี่ยนรูปได้ รู้ยัง (กริยาลอดช่อง เอ้ย! 3 ช่อง ครับ)

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆLEARN FOREIGN LANGUAGE

ขอบคุณที่รับชมกระทู้ครับ กริยา ที่ เปลี่ยน รูป

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *