Skip to content
Home » [NEW] “เทคนิคการวางแผนภาษี” ให้ได้ประโยชน์สูงสุด…สำหรับ ‘มนุษย์เงินเดือน-ผู้มีอาชีพอิสระ-ผู้ประกอบการ’ | อัตรา ภาษี แบบ ก้าวหน้า – NATAVIGUIDES

[NEW] “เทคนิคการวางแผนภาษี” ให้ได้ประโยชน์สูงสุด…สำหรับ ‘มนุษย์เงินเดือน-ผู้มีอาชีพอิสระ-ผู้ประกอบการ’ | อัตรา ภาษี แบบ ก้าวหน้า – NATAVIGUIDES

อัตรา ภาษี แบบ ก้าวหน้า: คุณกำลังดูกระทู้

หรือแปลได้ว่า “….ในโลกนี้ ไม่มีสิ่งใดที่แน่นอน นอกจากความตาย และภาษี”
กรณีการจัดเก็บภาษีโดยรัฐสำหรับประเทศไทยนั้น ผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ไม่เพียงแต่จะจัดเก็บจากบุคคลธรรมดาผู้ที่มีรายได้เท่านั้น แต่ยังรวมถึงผู้ถึงแก่ความตายระหว่างปีภาษี, กองมรดกที่ยังไม่ได้แบ่งอีกด้วย
บ่อยครั้งเรามักได้รับคำถามจากบุคคลที่มีรายได้ประจำว่า มีวิธีการอย่างไรที่สามารถประหยัดภาษีได้ หรือกรณีมีงบประมาณการออมที่จำกัด จะเลือกใช้สิทธิ์ลดหย่อนภาษีด้วยทางเลือกใดจะเหมาะสม สำหรับบทความนี้ผู้เขียนมีเทคนิคการวางแผนภาษีมาแบ่งปันให้สำหรับผู้ที่มีรายได้ประจำ ดังนี้ค่ะ

Table of Contents

1) เทคนิคการวางแผนภาษี…สำหรับ “มนุษย์เงินเดือน”

สำหรับผู้ที่มีรายได้ประจำนั้น การจะวางแผนภาษีได้ดี หรือ มีแนวทางใดที่จะประหยัดภาษีได้นั้น ก่อนอื่นควรจะต้องเข้าใจหลักการจัดเก็บภาษีบุคคลธรรมดาก่อน กล่าวคือ

โดยเมื่อจ่ายเงินได้ บริษัทผู้จ่ายเงินได้ จะทำการ ‘หักภาษี ณ ที่จ่าย’ และผู้มีเงินได้ สามารถนำภาษีที่ถูกหัก ณ ที่จ่ายแล้ว ไปหักออกจากจำนวนภาษีเงินได้สิ้นปีที่ต้องเสีย และยื่นแบบแสดงรายการและชำระภาษีภายในเดือนมีนาคมของปีถัดจากปีที่มีเงินได้ ทั้งนี้ “มนุษย์เงินเดือน” สามารถพิจารณาวางแผนภาษี ได้ดังนี้

  • พิจารณาถึงทางเลือกการหักค่าใช้จ่าย เช่น สำหรับเงินได้พึงประเมิน ประเภท 40(5) เช่น ค่าเช่าคอนโด ผู้มีเงินได้สามารถหักค่าใช้จ่ายเป็นการเหมาได้ร้อยละ 30 หรืออาจเลือกหักค่าใช้จ่ายตามจำเป็นและสมควร (ทั้งนี้จะต้องมีเอกสารประกอบการหักค่าใช้จ่ายตามจริงดังกล่าว) เป็นต้น

  • พิจารณาว่าการใช้สิทธิ์ในการลดหย่อนภาษีต่างๆ ที่เกี่ยวข้องให้ครบถ้วน เช่น การลดหย่อนบุตรและบุพการี ดอกเบี้ยเงินกู้ยืมเพื่อซื้อที่อยู่อาศัย, เบี้ยประกันชีวิต, ประกันชีวิตแบบบำนาญ, เบี้ยประกันสุขภาพบุพการี, กองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ

           
“ทั้งนี้ควรพิจาณา ‘กระแสเงินสดคงเหลือ’ที่สามารถออมได้จริง กล่าวคือ มีกระแสเงินสดคงเหลือรายปี (รายรับ – รายจ่าย) เพียงพอสำหรับการออม”

  • กรณีที่กระแสเงินสดเหลือไม่พอสำหรับการออม ผู้มีเงินได้ “ไม่ควรไปกู้” ผ่านสินเชื่อส่วนบุคคลต่างๆ เพื่อมาออม เพราะอัตราดอกเบี้ยของสินเชื่อส่วนบุคคล อาจสูงกว่าอัตราภาษีที่ผู้มีเงินได้จะต้องชำระ

  • ควรศึกษา “เงื่อนไขของการใช้สิทธิประโยชน์ทางภาษี” ของผลิตภัณฑ์การลดหย่อนภาษี กรณีผิดเงื่อนไข ผู้มีเงินได้จะหมดสิทธิได้รับยกเว้นภาษี และยังต้องเสียภาษีสำหรับเงินได้ที่ได้รับยกเว้นภาษีมาแล้วด้วย

  • “บริหารภาษี” ให้เป็นส่วนหนึ่งของการวางแผนการเงิน เพื่อเป้าหมายต่างๆ กล่าวคือกรณีที่ผู้มีเงินได้ ต้องการออมปีละ 600,000 บาทต่อปี สามารถออมผ่านการซื้อ SSF, RMF หรือประกัน นอกจากผู้มีเงินได้จะสามารถมีเงินออมเพื่อวางแผนเกษียณยังสามารถนำเงินภาษีคืนไปลงทุนต่อได้ด้วย

  • กรณีเงินได้ประเภทเงินปันผล โดยได้ถูกหักภาษีหัก ณ ที่จ่ายร้อยละ 10 ไปแล้ว ผู้ได้รับเงินปันผลมีสิทธิเลือกเสียภาษี คือ จะไม่นำเงินปันผลมารวมกับเงินได้อื่นเพื่อคำนวณเสียภาษีเงินได้บุคคลประจำปี หรือใช้วิธี ‘เครดิตภาษีเงินปันผล’ (นำเงินปันผลมารวมคำนวณกับเงินได้อื่นเพื่อเสียภาษีสำหรับปีและขอเครดิตภาษีเงินปันผล) ทั้งนี้ ผู้ได้รับเงินปันผลควรคำนวณเพื่อเลือกใช้วิธีที่มีภาระภาษีต่ำกว่า

เช่น กรณีผู้เสียภาษีมีเงินเดือนรวม 1,000,000 บาท และมีรายได้เงินปันผลที่จ่ายจากกำไรจากบริษัทจดทะเบียนที่ได้เสียภาษีในอัตราร้อยละ 20 ของกำไรสุทธิ กรณีรายได้เงินปันผลที่ได้รับน้อยกว่า 2,600,000 บาทผู้เสียภาษีควรเลือกใช้วิธีเครดิตภาษีเงินปันผล ซึ่งจะทำให้เสียภาษีน้อยกว่า เนื่องจาก กรณีไม่นำเงินปันผลมารวมคำนวณ จะต้องเสียภาษีรวม 341,200บาท (คำนวณจากภาษีจากเงินเดือน 81,200[1] + ภาษีถูกหักณ ที่จ่าย 10%เท่ากับ 260,000บาท) แต่ถ้านำเงินปันผลมารวมและใช้เครดิตภาษี จะมีภาษีรวมเพียง 339,300บาทเท่านั้น

  • แจ้งรายละเอียดกับฝ่ายบุคคลของบริษัทผู้จ่ายเงินได้ สำหรับรายการหักลดหย่อนต่างๆ เพื่อลดจำนวนภาษีที่ถูกหัก ณ ที่จ่ายเมื่อได้รับเงินได้

  • กรณีที่ผู้มีเงินได้ถูกหักภาษีไว้เป็นจำนวนที่มากกว่า ภาษีเงินได้ที่ต้องชำระสำหรับปีนั้น ซึ่งผู้มีเงินได้สามารถขอคืนภาษีจากทางกรมสรรพากรได้ ผู้มีเงินได้สามารถรวบรวมเอกสารเพื่อยื่นภาษีโดยเร็ว เพื่อนำเงินภาษีที่ได้รับคืน มาลงทุนต่อให้ได้ผลตอบแทนเพิ่มเติม

2) เทคนิคการวางแผนภาษี…สำหรับ “ผู้มีอาชีพอิสระ”

กรณีผู้มีอาชีพอิสระ ผู้ว่าจ้างที่เป็นผู้จ่ายเงินได้จะหักภาษี ณ ที่จ่ายทุกครั้งที่มีการจ่ายเงินได้ โดยภาษีที่ถูกหักไว้ดังกล่าว ผู้มีอาชีพอิสระสามารถนำมาหักออกจากภาษีเงินได้สิ้นปีที่ต้องเสีย ทางผู้เขียนมีเทคนิคการบริหารภาษีและการเงินที่ผู้มีอาชีพอิสระเพิ่มเติม ดังนี้
2.1 ทำประมาณการเงินได้สุทธิและประมาณการกระแสเงินสดรับจ่าย ทั้งนี้เพื่อบริหารกระแสเงินสดให้มีสภาพคล่องที่เหมาะสมในระหว่างปี รวมถึงคำนวณเงินที่จะใช้สิทธิ์ลดหย่อนภาษีได้เหมาะสม
2.2 สำรองเงินกรณีที่มี ภาษีที่ต้องชำระสำหรับปีภาษี มากกว่าจำนวนถูกหัก ณ ที่จ่ายไว้ เพื่อหลีกเลี่ยงการกู้ยืมเพื่อมาชำระภาษี
2.3 พิจารณารูปแบบการประกอบธุรกิจ เช่น กรณีที่เงินได้สุทธิเกิน 5 ล้านบาท อาจพิจารณาจดทะเบียนเป็นบริษัท ซึ่งอัตราภาษีอยู่ที่ร้อยละ 20 และกรณีมีรายรับจากการให้บริการเกิน 1,800,000 บาท จะต้องยื่นคำขอจดทะเบียนเป็นผู้ประกอบการภาษีมูลค่าเพิ่ม

3) เทคนิคการวางแผนภาษี…สำหรับ “ผู้ประกอบการ”

กรณีประกอบการในรูปบริษัท ซึ่งจะเสียภาษีจากกำไรสุทธิทางภาษี (คำนวณจาก รายได้ หัก ค่าใช้จ่าย) คูณอัตราภาษีร้อยละ 20 (หากเป็นบริษัทวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SME) อัตราภาษีจะลดลง โดยเป็นอัตราก้าวหน้า กล่าวคือ ยกเว้นกำไรสุทธิ 300,000 แรก ส่วนที่เกิน 300,000 บาท แต่ไม่เกิน 3,000,000บาท จะเสียภาษีร้อยละ 15 และเสียภาษีร้อยละ20 สำหรับกำไรสุทธิส่วนที่เกิน 3,000,000บาท
ทั้งนี้ ผู้ประกอบการสามารถพิจารณาวางแผนภาษีและการบริหารการเงิน ได้ดังนี้
3.1 พิจารณาว่าเข้าเงื่อนไขที่จะได้รับการส่งเสริมการลงทุนหรือไม่ หากเข้าเป็นกิจการเป้าหมาย สามารถยื่นขอรับการส่งเสริมการลงทุนจาก “สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน”
3.2 พิจารณา การ หักค่าใช้จ่ายที่สามารถหักค่าใช้จ่ายได้มากกว่าปกติ เช่น รายจ่ายการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม การจ้างผู้สูงอายุ จ้างคนพิการ จ้างนักศึกษาทำบัญชี เป็นต้น
3.3 การซื้อทรัพย์สิน หรือการเช่าทรัพย์สิน เนื่องจากการซื้อทรัพย์สิน บริษัทจะสามารถหักค่าใช้จ่ายได้ในรูปค่าเสื่อมราคา เช่น ตัดเป็นรายจ่าย 5ปี เป็นต้น ทางบริษัทสามารถพิจารณาเปรียบเทียบระหว่างการหักค่าใช้จ่ายในรูปค่าเสื่อมราคาทรัพย์สิน หรือ ค่าเช่า กรณีเช่าทรัพย์สิน เป็นต้น
3.4 การตั้งเงินเดือนกรรมการในระดับที่เหมาะสม จากการให้คำปรึกษาทางการเงินสำหรับผู้ประกอบการ บ่อยครั้งที่พบว่า มีการตั้งเงินเดือนสำหรับกรรมการในอัตราที่ไม่เหมาะสม เช่น ตั้งเงินเดือนกรรมการต่ำเกินไป ส่งผลให้เสียภาษีเงินได้นิติบุคคลของบริษัทมากขึ้น เป็นต้น
“กรณีเงินเดือนกรรมการ บริษัทสามารถหักเป็นค่าใช้จ่ายบริษัทได้ ในขณะที่กรรมการ สามารถนำเงินได้นั้นมาเสียภาษีบุคคลธรรมดา โดยใช้สิทธิ์ลดหย่อนภาษีต่างๆ ได้ ดังนั้น ทางผู้ประกอบการจึงควรพิจารณากำหนดระดับเงินเดือนที่เหมาะสม”
3.5 การแยก “บัญชีส่วนตัวกรรมการ” ออกจาก “บัญชีของบริษัท” บ่อยครั้งที่พบว่าจากการที่บริษัทไม่ตั้งเงินเดือนกรรมการ หรือตั้งในระดับที่ต่ำเกินไป ทำให้กรรมการดึงเงินจากบริษัทออกไป โดยที่ไม่มีเอกสารประกอบการจ่ายที่เหมาะสม ดังนั้น กรณีที่ไม่มีเอกสารประกอบการจ่าย รายจ่ายดังกล่าวไม่สามารถถือเป็นรายจ่ายทางภาษี ส่งผลให้บริษัทต้องเสียภาษีมากขึ้น
“การแยกบัญชีกรรมการออกจากบัญชีบริษัทแล้ว นอกจากจะไม่ทำให้เกิดปัญหาทางด้านบัญชีและภาษีสรรพากรแล้ว ทางผู้ประกอบการ สามารถนำเงินเดือนและค่าตอบแทนจากบริษัท มาวางแผนการเงินส่วนบุคคลสำหรับเป้าหมายสำหรับตนเองและครอบครัวได้ชัดเจนยิ่งขึ้น”
โดยสรุป “ภาษี” ถือเป็นส่วนหนึ่งของรายจ่าย ไม่ว่าเราจะเป็นมนุษย์เงินเดือน ผู้ประกอบอาชีพอิสระ หรือผู้ประกอบการ หากว่าเรามี “การวางแผนภาษี” ด้วยวิธีการที่ถูกต้องเหมาะสมและถูกกฎหมาย เพื่อให้ประหยัดภาษีได้สูงสุด เราก็จะมีเงินออมมากขึ้น เมื่อมีเงินออมมากขึ้น ก็สามารถนำเงินออมมาบริหารลงทุนให้ได้ดอกผลเพิ่มขึ้น ซึ่งส่งผลให้เราสามารถบรรลุวัตถุประสงค์ของเป้าหมายทางการเงินได้เร็วขึ้นนั่นเอง
ติดตามความรู้และข่าวสารสมาคมนักวางแผนการเงินไทย ได้ที่ LINE@cfpthailand , สมาคมนักวางแผนการเงินไทย Facebook Fanpage และ www.tfpa.or.th

[1]หมายเหตุ : การคำนวณภาษีสำหรับเงินเดือน 1,000,000บาท มีการหักค่าใช้จ่ายส่วนตัวตามกฎหมาย 100,000บาท ค่าลดหย่อนส่วนตัว 60,000บาท และเงินสมทบประกันสังคม 9,000บาท

[NEW] “เทคนิคการวางแผนภาษี” ให้ได้ประโยชน์สูงสุด…สำหรับ ‘มนุษย์เงินเดือน-ผู้มีอาชีพอิสระ-ผู้ประกอบการ’ | อัตรา ภาษี แบบ ก้าวหน้า – NATAVIGUIDES

หรือแปลได้ว่า “….ในโลกนี้ ไม่มีสิ่งใดที่แน่นอน นอกจากความตาย และภาษี”
กรณีการจัดเก็บภาษีโดยรัฐสำหรับประเทศไทยนั้น ผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ไม่เพียงแต่จะจัดเก็บจากบุคคลธรรมดาผู้ที่มีรายได้เท่านั้น แต่ยังรวมถึงผู้ถึงแก่ความตายระหว่างปีภาษี, กองมรดกที่ยังไม่ได้แบ่งอีกด้วย
บ่อยครั้งเรามักได้รับคำถามจากบุคคลที่มีรายได้ประจำว่า มีวิธีการอย่างไรที่สามารถประหยัดภาษีได้ หรือกรณีมีงบประมาณการออมที่จำกัด จะเลือกใช้สิทธิ์ลดหย่อนภาษีด้วยทางเลือกใดจะเหมาะสม สำหรับบทความนี้ผู้เขียนมีเทคนิคการวางแผนภาษีมาแบ่งปันให้สำหรับผู้ที่มีรายได้ประจำ ดังนี้ค่ะ

1) เทคนิคการวางแผนภาษี…สำหรับ “มนุษย์เงินเดือน”

สำหรับผู้ที่มีรายได้ประจำนั้น การจะวางแผนภาษีได้ดี หรือ มีแนวทางใดที่จะประหยัดภาษีได้นั้น ก่อนอื่นควรจะต้องเข้าใจหลักการจัดเก็บภาษีบุคคลธรรมดาก่อน กล่าวคือ

โดยเมื่อจ่ายเงินได้ บริษัทผู้จ่ายเงินได้ จะทำการ ‘หักภาษี ณ ที่จ่าย’ และผู้มีเงินได้ สามารถนำภาษีที่ถูกหัก ณ ที่จ่ายแล้ว ไปหักออกจากจำนวนภาษีเงินได้สิ้นปีที่ต้องเสีย และยื่นแบบแสดงรายการและชำระภาษีภายในเดือนมีนาคมของปีถัดจากปีที่มีเงินได้ ทั้งนี้ “มนุษย์เงินเดือน” สามารถพิจารณาวางแผนภาษี ได้ดังนี้

  • พิจารณาถึงทางเลือกการหักค่าใช้จ่าย เช่น สำหรับเงินได้พึงประเมิน ประเภท 40(5) เช่น ค่าเช่าคอนโด ผู้มีเงินได้สามารถหักค่าใช้จ่ายเป็นการเหมาได้ร้อยละ 30 หรืออาจเลือกหักค่าใช้จ่ายตามจำเป็นและสมควร (ทั้งนี้จะต้องมีเอกสารประกอบการหักค่าใช้จ่ายตามจริงดังกล่าว) เป็นต้น

  • พิจารณาว่าการใช้สิทธิ์ในการลดหย่อนภาษีต่างๆ ที่เกี่ยวข้องให้ครบถ้วน เช่น การลดหย่อนบุตรและบุพการี ดอกเบี้ยเงินกู้ยืมเพื่อซื้อที่อยู่อาศัย, เบี้ยประกันชีวิต, ประกันชีวิตแบบบำนาญ, เบี้ยประกันสุขภาพบุพการี, กองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ

           
“ทั้งนี้ควรพิจาณา ‘กระแสเงินสดคงเหลือ’ที่สามารถออมได้จริง กล่าวคือ มีกระแสเงินสดคงเหลือรายปี (รายรับ – รายจ่าย) เพียงพอสำหรับการออม”

  • กรณีที่กระแสเงินสดเหลือไม่พอสำหรับการออม ผู้มีเงินได้ “ไม่ควรไปกู้” ผ่านสินเชื่อส่วนบุคคลต่างๆ เพื่อมาออม เพราะอัตราดอกเบี้ยของสินเชื่อส่วนบุคคล อาจสูงกว่าอัตราภาษีที่ผู้มีเงินได้จะต้องชำระ

  • ควรศึกษา “เงื่อนไขของการใช้สิทธิประโยชน์ทางภาษี” ของผลิตภัณฑ์การลดหย่อนภาษี กรณีผิดเงื่อนไข ผู้มีเงินได้จะหมดสิทธิได้รับยกเว้นภาษี และยังต้องเสียภาษีสำหรับเงินได้ที่ได้รับยกเว้นภาษีมาแล้วด้วย

  • “บริหารภาษี” ให้เป็นส่วนหนึ่งของการวางแผนการเงิน เพื่อเป้าหมายต่างๆ กล่าวคือกรณีที่ผู้มีเงินได้ ต้องการออมปีละ 600,000 บาทต่อปี สามารถออมผ่านการซื้อ SSF, RMF หรือประกัน นอกจากผู้มีเงินได้จะสามารถมีเงินออมเพื่อวางแผนเกษียณยังสามารถนำเงินภาษีคืนไปลงทุนต่อได้ด้วย

  • กรณีเงินได้ประเภทเงินปันผล โดยได้ถูกหักภาษีหัก ณ ที่จ่ายร้อยละ 10 ไปแล้ว ผู้ได้รับเงินปันผลมีสิทธิเลือกเสียภาษี คือ จะไม่นำเงินปันผลมารวมกับเงินได้อื่นเพื่อคำนวณเสียภาษีเงินได้บุคคลประจำปี หรือใช้วิธี ‘เครดิตภาษีเงินปันผล’ (นำเงินปันผลมารวมคำนวณกับเงินได้อื่นเพื่อเสียภาษีสำหรับปีและขอเครดิตภาษีเงินปันผล) ทั้งนี้ ผู้ได้รับเงินปันผลควรคำนวณเพื่อเลือกใช้วิธีที่มีภาระภาษีต่ำกว่า

เช่น กรณีผู้เสียภาษีมีเงินเดือนรวม 1,000,000 บาท และมีรายได้เงินปันผลที่จ่ายจากกำไรจากบริษัทจดทะเบียนที่ได้เสียภาษีในอัตราร้อยละ 20 ของกำไรสุทธิ กรณีรายได้เงินปันผลที่ได้รับน้อยกว่า 2,600,000 บาทผู้เสียภาษีควรเลือกใช้วิธีเครดิตภาษีเงินปันผล ซึ่งจะทำให้เสียภาษีน้อยกว่า เนื่องจาก กรณีไม่นำเงินปันผลมารวมคำนวณ จะต้องเสียภาษีรวม 341,200บาท (คำนวณจากภาษีจากเงินเดือน 81,200[1] + ภาษีถูกหักณ ที่จ่าย 10%เท่ากับ 260,000บาท) แต่ถ้านำเงินปันผลมารวมและใช้เครดิตภาษี จะมีภาษีรวมเพียง 339,300บาทเท่านั้น

  • แจ้งรายละเอียดกับฝ่ายบุคคลของบริษัทผู้จ่ายเงินได้ สำหรับรายการหักลดหย่อนต่างๆ เพื่อลดจำนวนภาษีที่ถูกหัก ณ ที่จ่ายเมื่อได้รับเงินได้

  • กรณีที่ผู้มีเงินได้ถูกหักภาษีไว้เป็นจำนวนที่มากกว่า ภาษีเงินได้ที่ต้องชำระสำหรับปีนั้น ซึ่งผู้มีเงินได้สามารถขอคืนภาษีจากทางกรมสรรพากรได้ ผู้มีเงินได้สามารถรวบรวมเอกสารเพื่อยื่นภาษีโดยเร็ว เพื่อนำเงินภาษีที่ได้รับคืน มาลงทุนต่อให้ได้ผลตอบแทนเพิ่มเติม

2) เทคนิคการวางแผนภาษี…สำหรับ “ผู้มีอาชีพอิสระ”

กรณีผู้มีอาชีพอิสระ ผู้ว่าจ้างที่เป็นผู้จ่ายเงินได้จะหักภาษี ณ ที่จ่ายทุกครั้งที่มีการจ่ายเงินได้ โดยภาษีที่ถูกหักไว้ดังกล่าว ผู้มีอาชีพอิสระสามารถนำมาหักออกจากภาษีเงินได้สิ้นปีที่ต้องเสีย ทางผู้เขียนมีเทคนิคการบริหารภาษีและการเงินที่ผู้มีอาชีพอิสระเพิ่มเติม ดังนี้
2.1 ทำประมาณการเงินได้สุทธิและประมาณการกระแสเงินสดรับจ่าย ทั้งนี้เพื่อบริหารกระแสเงินสดให้มีสภาพคล่องที่เหมาะสมในระหว่างปี รวมถึงคำนวณเงินที่จะใช้สิทธิ์ลดหย่อนภาษีได้เหมาะสม
2.2 สำรองเงินกรณีที่มี ภาษีที่ต้องชำระสำหรับปีภาษี มากกว่าจำนวนถูกหัก ณ ที่จ่ายไว้ เพื่อหลีกเลี่ยงการกู้ยืมเพื่อมาชำระภาษี
2.3 พิจารณารูปแบบการประกอบธุรกิจ เช่น กรณีที่เงินได้สุทธิเกิน 5 ล้านบาท อาจพิจารณาจดทะเบียนเป็นบริษัท ซึ่งอัตราภาษีอยู่ที่ร้อยละ 20 และกรณีมีรายรับจากการให้บริการเกิน 1,800,000 บาท จะต้องยื่นคำขอจดทะเบียนเป็นผู้ประกอบการภาษีมูลค่าเพิ่ม

3) เทคนิคการวางแผนภาษี…สำหรับ “ผู้ประกอบการ”

กรณีประกอบการในรูปบริษัท ซึ่งจะเสียภาษีจากกำไรสุทธิทางภาษี (คำนวณจาก รายได้ หัก ค่าใช้จ่าย) คูณอัตราภาษีร้อยละ 20 (หากเป็นบริษัทวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SME) อัตราภาษีจะลดลง โดยเป็นอัตราก้าวหน้า กล่าวคือ ยกเว้นกำไรสุทธิ 300,000 แรก ส่วนที่เกิน 300,000 บาท แต่ไม่เกิน 3,000,000บาท จะเสียภาษีร้อยละ 15 และเสียภาษีร้อยละ20 สำหรับกำไรสุทธิส่วนที่เกิน 3,000,000บาท
ทั้งนี้ ผู้ประกอบการสามารถพิจารณาวางแผนภาษีและการบริหารการเงิน ได้ดังนี้
3.1 พิจารณาว่าเข้าเงื่อนไขที่จะได้รับการส่งเสริมการลงทุนหรือไม่ หากเข้าเป็นกิจการเป้าหมาย สามารถยื่นขอรับการส่งเสริมการลงทุนจาก “สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน”
3.2 พิจารณา การ หักค่าใช้จ่ายที่สามารถหักค่าใช้จ่ายได้มากกว่าปกติ เช่น รายจ่ายการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม การจ้างผู้สูงอายุ จ้างคนพิการ จ้างนักศึกษาทำบัญชี เป็นต้น
3.3 การซื้อทรัพย์สิน หรือการเช่าทรัพย์สิน เนื่องจากการซื้อทรัพย์สิน บริษัทจะสามารถหักค่าใช้จ่ายได้ในรูปค่าเสื่อมราคา เช่น ตัดเป็นรายจ่าย 5ปี เป็นต้น ทางบริษัทสามารถพิจารณาเปรียบเทียบระหว่างการหักค่าใช้จ่ายในรูปค่าเสื่อมราคาทรัพย์สิน หรือ ค่าเช่า กรณีเช่าทรัพย์สิน เป็นต้น
3.4 การตั้งเงินเดือนกรรมการในระดับที่เหมาะสม จากการให้คำปรึกษาทางการเงินสำหรับผู้ประกอบการ บ่อยครั้งที่พบว่า มีการตั้งเงินเดือนสำหรับกรรมการในอัตราที่ไม่เหมาะสม เช่น ตั้งเงินเดือนกรรมการต่ำเกินไป ส่งผลให้เสียภาษีเงินได้นิติบุคคลของบริษัทมากขึ้น เป็นต้น
“กรณีเงินเดือนกรรมการ บริษัทสามารถหักเป็นค่าใช้จ่ายบริษัทได้ ในขณะที่กรรมการ สามารถนำเงินได้นั้นมาเสียภาษีบุคคลธรรมดา โดยใช้สิทธิ์ลดหย่อนภาษีต่างๆ ได้ ดังนั้น ทางผู้ประกอบการจึงควรพิจารณากำหนดระดับเงินเดือนที่เหมาะสม”
3.5 การแยก “บัญชีส่วนตัวกรรมการ” ออกจาก “บัญชีของบริษัท” บ่อยครั้งที่พบว่าจากการที่บริษัทไม่ตั้งเงินเดือนกรรมการ หรือตั้งในระดับที่ต่ำเกินไป ทำให้กรรมการดึงเงินจากบริษัทออกไป โดยที่ไม่มีเอกสารประกอบการจ่ายที่เหมาะสม ดังนั้น กรณีที่ไม่มีเอกสารประกอบการจ่าย รายจ่ายดังกล่าวไม่สามารถถือเป็นรายจ่ายทางภาษี ส่งผลให้บริษัทต้องเสียภาษีมากขึ้น
“การแยกบัญชีกรรมการออกจากบัญชีบริษัทแล้ว นอกจากจะไม่ทำให้เกิดปัญหาทางด้านบัญชีและภาษีสรรพากรแล้ว ทางผู้ประกอบการ สามารถนำเงินเดือนและค่าตอบแทนจากบริษัท มาวางแผนการเงินส่วนบุคคลสำหรับเป้าหมายสำหรับตนเองและครอบครัวได้ชัดเจนยิ่งขึ้น”
โดยสรุป “ภาษี” ถือเป็นส่วนหนึ่งของรายจ่าย ไม่ว่าเราจะเป็นมนุษย์เงินเดือน ผู้ประกอบอาชีพอิสระ หรือผู้ประกอบการ หากว่าเรามี “การวางแผนภาษี” ด้วยวิธีการที่ถูกต้องเหมาะสมและถูกกฎหมาย เพื่อให้ประหยัดภาษีได้สูงสุด เราก็จะมีเงินออมมากขึ้น เมื่อมีเงินออมมากขึ้น ก็สามารถนำเงินออมมาบริหารลงทุนให้ได้ดอกผลเพิ่มขึ้น ซึ่งส่งผลให้เราสามารถบรรลุวัตถุประสงค์ของเป้าหมายทางการเงินได้เร็วขึ้นนั่นเอง
ติดตามความรู้และข่าวสารสมาคมนักวางแผนการเงินไทย ได้ที่ LINE@cfpthailand , สมาคมนักวางแผนการเงินไทย Facebook Fanpage และ www.tfpa.or.th

[1]หมายเหตุ : การคำนวณภาษีสำหรับเงินเดือน 1,000,000บาท มีการหักค่าใช้จ่ายส่วนตัวตามกฎหมาย 100,000บาท ค่าลดหย่อนส่วนตัว 60,000บาท และเงินสมทบประกันสังคม 9,000บาท


Clip 02 3 อัตราภาษี และการคำนวณภาษ๊


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

Clip 02 3  อัตราภาษี และการคำนวณภาษ๊

คำนวนภาษีเงินได้เมื่อขายที่ดิน,บ้าน,คอนโด ณ กรมที่ดิน คิดคำนวนยังไง | Guru Living


สวัสดีครับ วันนี้เราจะมาคุยกันในอีกหนึ่งหัวข้อที่ได้รับความสนใจกันเป็นอย่างมากนะครับว่าการที่เราไปโอนบ้าน คอนโด หรือที่ดิน ณ กรมที่ดินเนี่ยเราจะมีค่าใช้จ่ายอะไรที่เราต้องเสียบ้างในฐานะทั้งเราเป็นผู้ซื้อหรือผู้ขายก็ตาม วันนี้ผมจะมาอธิบายค่าใช้จ่ายทุกๆอย่างโดยละเอียดเลยครับ

ก่อนอื่นเลยค่าใช้จ่าย ณ กรมที่ดินหากว่าเรามีการซื้อขาย บ้าน คอนโด หรือที่ดินกันจะมี 5 ตัวหลักๆครับคือ
1. ค่าธรรมเนียมการโอน
2. ค่าจดจำนอง
3. ค่าอากรแสตมป์
4. ค่าภาษีธุรกิจเฉพาะ
5.ค่าภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

5. ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา หัก ณ ที่จ่าย
สำหรับผู้ขาย เมื่อขายอสังหาริมทรัพย์แล้วจะมีค่าใช้จ่ายอีกตัวนึงที่ตามมาครับ แต่ถ้าหากเราเป็นผู้ซื้อค่าใช้จ่ายนี้ไม่เกี่ยวข้องกับเรานะครับ ค่าใช้จ่ายตัวนี้คือ ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ซึ่งเกณในการเรียกเก็บจะคิดจากราคาประเมินที่ดิน หักค่าใช้จ่ายตามอัตราที่กำหนด หารปีที่ถือครอง คูณอัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

ในส่วนแรกที่ต้องดูคือเราต้องดูว่าเราถือครองทรัพย์นั้นมานานกี่ปีครับ
ถือครอง 1 ปี คิดรายได้เป็นร้อยละ 92 ของเงินได้(ราคาประเมิน)
ถือครอง 2 ปี คิดรายได้เป็นร้อยละ 84 ของเงินได้(ราคาประเมิน)
ถือครอง 3 ปี คิดรายได้เป็นร้อยละ 77 ของเงินได้(ราคาประเมิน)
ถือครอง 4 ปี คิดรายได้เป็นร้อยละ 71 ของเงินได้(ราคาประเมิน)
ถือครอง 5 ปี คิดรายได้เป็นร้อยละ 65 ของเงินได้(ราคาประเมิน)
ถือครอง 6 ปี คิดรายได้เป็นร้อยละ 60 ของเงินได้(ราคาประเมิน)
ถือครอง 7 ปี คิดรายได้เป็นร้อยละ 55 ของเงินได้(ราคาประเมิน)
ถือครอง 8 ปี ขึ้นไป คิดรายได้เป็นร้อยละ 50ของเงินได้(ราคาประเมิน)
ในกรณีเป็นทรัพย์มรดกหรืออสังหาริมทรัพย์ที่ได้รับจากการให้โดยเสน่หา จะสามารถหักค่าใช้จ่ายได้ถึง 50 % จากราคาประเมิณครับ

หารจำนวนปีที่เราถือครองทรัพย์นั้นครับ ยกตัวอย่างเช่นถ้าเราถือครองมา 4 ปี ก็เอา 4 ไปหารกับตัวเลขที่หักค่าลดหย่อนไปแล้ว

ขั้นตอนสุดท้าย เราต้องนำรายได้ที่เราคิดมาคำนวณอัตราภาษีเงินได้เป็นแบบขั้นบันได ตามที่กรมสรรพากรกำหนดตามนี้ครับ

เงินได้สุทธิ อัตราภาษีร้อยละ
1 300,000 บาท 5%
300,001 500,000 บาท 10%
500,001 750,000 บาท 15%
750,001 1,000,000 บาท 20%
1,000,001 2,000,000 บาท 25%
2,000,001 4,000,000 บาท 30%
4,000,001 บาท ขึ้นไป 40%

หลังจากคำนวนภาษีที่เงินได้ที่คิดมาในแต่ละปีแล้ว ให้คูณกลับจำนวนปีที่ถือครองทั้งหมดกลับไปครับเท่านี้เราก็จะรู้ภาษีที่ต้องจ่ายทั้งหมดครับ

ถ้าจนถึงตอนนี้ใครยังงงอยู่ไม่เป็นไรนะครับ เพราะสุดท้ายตัวเลขพวกนี้กรมที่ดินเขาจะคิดคำนวนออกมาให้เราครับ เพียงแต่ว่าถ้าเราสามารถคำนวนตัวเลขเหล่านี้ได้ก่อน จะทำให้เราสามารถรู้รายจ่ายที่กำลังจะเกิดขึ้น พร้อมเตรียมรับมือ วางแผนหารายได้มารองรับค่าใช้จ่ายเหล่านี้ได้ครับ
ภาษีขายบ้าน ภาษีขายที่ดิน ภาษีขายคอนโด ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีขายบ้านคํานวณ ภาษีซื้อขายบ้านพร้อมที่ดิน ภาษีขายบ้าน2563 ภาษีขายบ้านใครจ่าย

คำนวนภาษีเงินได้เมื่อขายที่ดิน,บ้าน,คอนโด ณ กรมที่ดิน คิดคำนวนยังไง  | Guru Living

มีรายได้ จะคำนวณเสียภาษีอย่างไร ?!?(PIT #8) บัญชี StartUp D.I.Y. Trips Ep.18


วิธีคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาทำได้ 2 วิธี
1. คำนวณจากเงินได้สุทธิ แบบขั้นบันได 035%
เงินได้สุทธิ x อัตราภาษี = เงินภาษีที่ต้องจ่าย
2. คำนวณจากเงินได้พึงประเมิน คำนวณแบบเหมา 0.5%
เงินได้ที่ไม่ใช่เงินเดือน x 0.005 = ค่าภาษี
ถ้าคำนวณแล้ววิธีที่ 2 ไม่ถึง 5,000 บาท ให้เลือกเสียวิธีที่ 1
==========================================
ย้อนกลับไปดู
1. Update แบบ ภ.ง.ด.90 ปี 2561 บอกเล่าสไตล์พี่ดาต้า Ep.5
https://youtu.be/iFopDXcoXyo
2. เงินได้พึงประเมิน(PIT 1) บัญชี StartUp D.I.Y. Trips Ep.11
https://youtu.be/GF9nyl8V2T8
3. การหัก ค่าใช้จ่าย(PIT 2) บัญชี StartUp D.I.Y. Trips Ep.12
https://youtu.be/fDXQH4BzHyo
4. การหัก ค่าใช้จ่ายตามจริง(PIT 3) บัญชี StartUp D.I.Y. Trips Ep.13
https://youtu.be/FBK8kFAU8nk
5. ค่าลดหย่อน ส่วนตัวและครอบครัว(PIT 4) บัญชี StartUP D.I.Y Trips Ep.14
https://youtu.be/xmevPvBOzuY
6. ค่าลดหย่อน เงินออม ลงทุน ประกันชีวิต(PIT 5) บัญชี StartUp D.I.Y. Trips Ep.15
https://youtu.be/PdnAgPRz6Gk
7. ค่าลดหย่อนเงินบริจาค(PIT 6) บัญชี StartUp D.I.Y.Trips Ep.16
https://youtu.be/VcGs5ajMZuA
8. ค่าลดหย่อน กระตุ้นเศรษฐกิจของภาครัฐ(PIT 7) บัญชี StartUp D.I.Y. Trips Ep.17
https://youtu.be/XkC6FlQHwE

มีรายได้ จะคำนวณเสียภาษีอย่างไร ?!?(PIT #8) บัญชี StartUp D.I.Y. Trips Ep.18

คำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ฉบับละเอียดเว่อร์! | รู้เท่าธัน EP.7


ในคลิปนี้เราจะมาสอนวิธีการคำนวณภาษีแบบง่ายๆ แบบจัดเต็ม อธิบายละเอียดมาก ครบจบทุกประเด็น
0:00 Intro
1:14 ประเภทรายได้ตามมาตรา 40 ปี2563
7:13 รายการลดหย่อนภาษี ปี2563
13:33 อัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
14:36 ตัวอย่างคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
…………………
ในทุกๆ ปี อีกหนึ่งหน้าที่ของคนไทยทุกคนที่มีรายได้ต้องทำ ก็คือ ยื่นแสดงรายได้และจ่ายภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาให้กับกรมสรรพากรนั่นเอง
ดังนั้นมาเรียนรู้เรื่องภาษีกันเถอะ เราเองก็สามารถคำนวณภาษีได้โดยไม่ต้องใช้โปรแกรมเลย สำหรับมือใหม่หรือคนที่เพิ่งมีเงินเดือนก็สามารถคำนวณภาษีได้ด้วยตัวเองเช่นกัน การคำนวณภาษีไม่ใช่เรื่องยาก ถ้าเรารู้จักหลักการคิดคำนวณ
สมการคำนวณภาษี คือ
รายได้พึงประเมิน ค่าใช้จ่าย ค่าลดหย่อน = รายได้สุทธิ
รายได้สุทธิ x อัตราภาษี = เงินภาษีที่เราต้องจ่าย
เรามาเริ่มต้นกันที่ประเภทรายได้ตามมาตรา 40 โดยแบ่งออกเป็นทั้งหมด 8 ประเภท ดังนี้
ประเภทที่ 1 รายได้จากเงินเดือน
ประเภทที่ 2 รายได้จากค่าจ้าง ค่าตำแหน่ง
ประเภทที่ 3 ลิขสิทธิ์และทรัพย์สินทางปัญหา
ประเภทที่ 4 เงินได้จากการลงทุน
ประเภทที่ 5 เงินได้จากการให้เช่าทรัพย์สิน
ประเภทที่ 6 เงินได้จากวิชาชีพอิสระ
ประเภทที่ 7 เงินได้จากการรับเหมา
ประเภทที่ 8 รายได้จากธุรกิจอื่นๆ
รายการลดหย่อนภาษี ปี2563 แบ่งเป็นกลุ่มใหญ่ๆ ได้ดังนี้
1. กลุ่มลดหย่อนทั่วไป
2. กลุ่มประกันชีวิต
3. กลุ่มการลงทุน
4. กลุ่มกระตุ้นเศรษฐกิจ
5. กลุ่มตามมาตราการ COVID19 (กลุ่มพิเศษที่เพิ่มเข้ามาในปีนี้ เนื่องด้วยสถานการณ์ COVID19 ในปีนี้)
6. กลุ่มเงินบริจาค
(หมายเหตุ: ข้อมูลรายการลดหย่อนภาษี ปี2563 ณ วันที่ 1 พ.ค. 2563)
การคำนวณภาษีบุคคลธรรมดา สามารถดูในคลิปได้เลยครับ เราได้ยกตัวอย่างการคำนวณแบบง่ายๆ เป็นการคำนวณแบบขั้นบันได เหมาะสำหรับมนุษย์เงินเดือน (ผู้ที่มีรายได้ประเภทที่ 1) ส่วนผู้ที่มีรายได้จากช่องทางอื่นๆ นอกจากเงินเดือน (รายได้ประเภทที่ 28) สามารถคำนวณแบบเหมาได้ครับ

คำนวณภาษีบุคคลธรรมดา ภาษี
…………………
ฝากกด Subscribed เป็นกำลังใจให้พวกเราด้วยนะครับ
ติดตาม Cashury ช่องทางอื่นๆ ได้ที่
Facebook : https://facebook.com/Cashury.th
IG : https://www.instagram.com/cashury.th
Blockdit : https://www.blockdit.com/cashury
Twitter: https://twitter.com/Cashury_

คำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ฉบับละเอียดเว่อร์!  | รู้เท่าธัน EP.7

การคำนวณภาษีรายได้ส่วนบุคคลธรรมดา ขั้นแรก ด้วย Excel


การคำนวณหาภาษีรายได้ส่วนบุคคลธรรมดาที่ต้องเสีย ตามอัตราภาษีแบบขั้นบันได ด้วย Excel ง่ายๆโดยหักค่าใช้จ่าย 50% ของเงินได้ แต่ไม่เกิน 100,000 บาท และ หักค่าลดหย่อนส่วนตัว 60,000 บาท ก่อนถ้าไม่เกิน 150,000 บาท จะได้รับการยกเว้น ถ้ามากกว่า 150,000 บาท ให้หักค่าลดหย่อนต่างๆก่อนที่จะคิดภาษีตามอัตราการเสียภาษีแบบขั้นไดต่อไป

การคำนวณภาษีรายได้ส่วนบุคคลธรรมดา ขั้นแรก ด้วย Excel

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆLEARN TO MAKE A WEBSITE

ขอบคุณที่รับชมกระทู้ครับ อัตรา ภาษี แบบ ก้าวหน้า

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *