Skip to content
Home » [NEW] • หลักเกณฑ์การเขียนและเรียงบรรณานุกรม | การเรียงลําดับตามพจนานุกรม – NATAVIGUIDES

[NEW] • หลักเกณฑ์การเขียนและเรียงบรรณานุกรม | การเรียงลําดับตามพจนานุกรม – NATAVIGUIDES

การเรียงลําดับตามพจนานุกรม: คุณกำลังดูกระทู้

บรรณานุกรม

• หลักเกณฑ์การเขียนและเรียงบรรณานุกรม

1. เขียนคำว่า “บรรณานุกรม” หรือหากเป็นบทนิพนธ์ที่เป็นภาษาอังกฤษ ให้ใช้คำว่า “BIBLIOGRAPHY” ไว้กลางหน้ากระดาษ

2. เริ่มต้นเขียนติดริมขอบกระดาษที่เว้นไว้ประมาณ 1.5 นิ้ว หากบรรทัดเดียวไม่จบ บรรทัดถัดไปย่อเข้ามา 7 ระยะตัวอักษร

3. เมื่อรวบรวมวัสดุสารนิเทศได้ครบถ้วนทั้งหมดแล้ว ให้จัดเรียงรายการบรรณานุกรมต่างๆ โดยแยกจัดเรียงภาษาไทยไว้ก่อนภาษาอังกฤษ โดยยึดหลักการเรียงตามแบบพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ดังนี้

3.1 เรียงตามลำดับตัวอักษร ก-ฮ ตัว ฤ,ฤา เรียงไว้หลังอักษร ร และตัว ฦ,ฦา เรียงไว้หลังอักษร ล เช่น

           กานดา

           จันทร์จิรา

           ชบาไพร

           รัติกาล
           ฤดี
           ฤาษี
           ลิขสิทธิ์
           ฦชา

           วนิดา

           อารีย์

3.2 เรียงตามลำดับรูปพยัญชนะ-สระที่ปรากฏ โดยไม่คำนึงถึงเสียงอ่าน เช่น
           ทราย เรียงไว้ที่กลุ่มพยัญชนะ ท
           หย่า เรียงไว้ที่กลุ่มพยัญชนะ ห
           อย่า เรียงไว้ที่กลุ่มพยัญชนะ อ

3.3 คำที่ขึ้นต้นด้วยพยัญชนะเดียวกัน ให้เรียงตามลำดับของตัวอักษรตัวถัดไป โดยเรียงคำที่ประกอบด้วยตัวพยัญชนะล้วนไว้ก่อนคำที่มีรูปสระ เช่น
           ชดช้อย
           ชมัยพร
           ชลธิชา
           ชวน
           ชาติชาย
           เชย

3.4 คำที่ข้นต้นด้วยตัวพยัญชนะเดียวกัน และมีรูปสระกำกับ ให้เรียงตามรูปสระ ดังนี้
           -ะ           กะรัต
           กั             กังสดาล
           กัะ          กั๊วะ
           -า            กานดา
           กำ           กำปั้น
           กิ             กินรี
           กี             กีรติ
           กึ             กึ๋น
           กื             กือเจริญ
           กุ             กุลสตรี
           กู             กูลเกื้อ
           เ-             เก็จแก้ว
           เ-ะ          เกะกะ
           เ-า           เกาเหลา
           เ-าะ        เกาะแกะ
           แ-           แกนกลาง
           แ-ะ         แกะรอย
           โ-            โกมล
           โ-ะ         โก๊ะตี๋
           ใ-            ใกล้บ้าน
           ไ-            ไกรสร

3.5 คำที่มีวรรณยุกต์กำกับ เรียงโดยไม่ต้องคำนึงถึงลำดับวรรณยุกต์ เช่น
           ป้องกัน
           ปองพอง
           ป่าชายเลน
           ป้านน้ำชา
           ป่าละเมาะ

3.6 ตัวเลข สัญลักษณ์ และคำย่อ ให้เรียงตามเสียงอ่าน
           ดอกช่อนกลิ่น
           ดร. อาทิตย์
           ยี่ภู่
           20 นาที

3.7 อักษรย่อเรียงไว้ก่อนคำที่ขึ้นต้นด้วยตัวอักษรเดียวกัน เช่น
           ก. ศยามานนท์
           ก. สุรางคนางค์
           กฤษณา อโศกสิน
           กาญจนา เพชรมณี

4. การเรียงรายการบรรณานุกรมภาษาอังกฤษ ยึดหลักเกณฑ์ ดังนี้

           4.1 เรียงตามลำดับตัวอักษรตั้งแต่ A-Z โดยให้เรียงตามลำดับอักษรแบบคำต่อคำ (word by word) คือ ดูคำแต่ละคำ ในแต่ละคำ ให้ดูตามลำดับอักษรตัวแรก ถ้าอักษรตัวแรกเหมือนกัน ก็เรียงตามตัวที่สอง ถ้าตัวที่สองเหมือนกัน ก็เรียงตามตัวที่สาม ไปเรื่อยๆ และถ้าคำแรกเหมือนกัน ก็เรียงตามคำที่สอง คำที่สองเหมือนกันก็ดูคำที่สาม ไปเรื่อยๆ เช่น
           Tea New England
           Ten New York
           Tennis Newman
           Tense Newspaper

4.2 คำที่ปรากฏเครื่องหมาย & ให้เรียงเหมือนคำว่า “and” เช่น
           England & Canada
           England and her colonies

4.3 คำที่มีการตัดทอนให้สั้นลง โดยใช้เครื่องหมาย Apostrophe (‘) เช่น Who’s หรือ Isn’t ฯลฯ ให้นับเป็นคำเดียวกัน โดยไม่ต้องคำนึงถึงเครื่องหมาย เช่น
           Boy’s book of body
           Boys will be boys

4.4 คำที่ขึ้นต้นด้วย article ให้เรียงตามลำดับตัวอักษรของคำถัดไป โดยไม่คำนึงถึง article และถ้า article ที่ไม่ใช่คำแรกของชื่อเรื่อง ให้เรียงตามลำดับอักษรเหมือนคำทั่วไป เช่น
           Animus and animal
           Between people
           A jungian model of adult

4.5 คำนำหน้าชื่อ เช่น M’ Mc หรือ Mac ให้เรียงตามชื่อที่ปรากฏ โดยไม่ต้องคำนึงถึงเครื่องหมาย เช่น
           MacArthur
           Mcallister
           M’ Carthy

5. การเรียงรายการบรรณานุกรมกรณีผู้แต่งคนแรกมีชื่อหรือนามสกุลเหมือนกัน ใช้หลักเกณฑ์ดังนี้

5.1 ผู้แต่งชาวไทย ชื่อเหมือนกัน ให้เรียงตามนามสกุล ชาวต่างประเทศนามสกุลเหมือนกันเรียกตาม     อักษรของชื่อต้น และชื่อกลาง เช่น
           สมศักดิ์ เมธีปกรณ์
           สมศักดิ์ ศรีมาโนชน์
           William, J.
           William, T.M.

5.2 เรียงรายการบรรณานุกรมที่มีชื่อผู้แต่งคนเดียวไว้ก่อนรายการที่มีผู้แต่งหลายคน เช่น
           สุชา จันทร์เอม
           สุชา จันทร์เอม, และสุรางค์ จันทร์เอม
           Bass, B.M.
           Bass, B.M., & Avolio, B.J.

5.3 รายการบรรณานุกรมที่มีชื่อผู้แต่งเหมือนกันทุกคน ให้จัดเรียงตามปีที่พิมพ์ เช่น
           พวา พันธ์เมฆา. (2538).
           พวา พันธ์เมฆา. (2540).
           Hersey, P.& Blanchard, T. (1989).
           Hersey, P.& Blanchard, T. (1999).

5.4 รายการบรรณานุกรมที่มีชื่อผู้แต่งคนแรกซ้ำกัน ให้เรียงตามชื่อผู้แต่งคนลำดับต่อมา เช่น
           เกษมสุข เฉลียวศักดิ์, และ วรรณี ลิมอักษร
           เกษมสุข เฉลียวศักดิ์, และ ศุภาวดี บุญวงศ์

5.5 รายการบรรณานุกรมที่มีชื่อผู้แต่งเหมือนกัน และพิมพ์ในปีเดียวกัน ให้เรียงตามลำดับอักษร ก,ข,ค,…
หรือ a,b,c,… ที่กำกับไว้หลังปีพิมพ์ เช่น
           สุธิวงศ์ พงษ์ไพบูลย์. (2529ก).
           สุธิวงศ์ พงษ์ไพบูลย์. (2529ข).
           Bass, B.M. (1990a).
           Bass, B.M. (1990b).

6. รายการบรรณานุกรมที่มีชื่อผู้แต่งเป็นสถาบัน สมาคม หน่วยงาน ให้เรียงตามลำดับอักษรตัวแรกของชื่อสถาบันที่สะกดเต็ม เช่น
           มสธ. คือ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
           ส.ต.ง. คือ สำนักงานตรวจเงินแผ่นดิน

 

[NEW] • หลักเกณฑ์การเขียนและเรียงบรรณานุกรม | การเรียงลําดับตามพจนานุกรม – NATAVIGUIDES

บรรณานุกรม

• หลักเกณฑ์การเขียนและเรียงบรรณานุกรม

1. เขียนคำว่า “บรรณานุกรม” หรือหากเป็นบทนิพนธ์ที่เป็นภาษาอังกฤษ ให้ใช้คำว่า “BIBLIOGRAPHY” ไว้กลางหน้ากระดาษ

2. เริ่มต้นเขียนติดริมขอบกระดาษที่เว้นไว้ประมาณ 1.5 นิ้ว หากบรรทัดเดียวไม่จบ บรรทัดถัดไปย่อเข้ามา 7 ระยะตัวอักษร

3. เมื่อรวบรวมวัสดุสารนิเทศได้ครบถ้วนทั้งหมดแล้ว ให้จัดเรียงรายการบรรณานุกรมต่างๆ โดยแยกจัดเรียงภาษาไทยไว้ก่อนภาษาอังกฤษ โดยยึดหลักการเรียงตามแบบพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ดังนี้

3.1 เรียงตามลำดับตัวอักษร ก-ฮ ตัว ฤ,ฤา เรียงไว้หลังอักษร ร และตัว ฦ,ฦา เรียงไว้หลังอักษร ล เช่น

           กานดา

           จันทร์จิรา

           ชบาไพร

           รัติกาล
           ฤดี
           ฤาษี
           ลิขสิทธิ์
           ฦชา

           วนิดา

           อารีย์

3.2 เรียงตามลำดับรูปพยัญชนะ-สระที่ปรากฏ โดยไม่คำนึงถึงเสียงอ่าน เช่น
           ทราย เรียงไว้ที่กลุ่มพยัญชนะ ท
           หย่า เรียงไว้ที่กลุ่มพยัญชนะ ห
           อย่า เรียงไว้ที่กลุ่มพยัญชนะ อ

3.3 คำที่ขึ้นต้นด้วยพยัญชนะเดียวกัน ให้เรียงตามลำดับของตัวอักษรตัวถัดไป โดยเรียงคำที่ประกอบด้วยตัวพยัญชนะล้วนไว้ก่อนคำที่มีรูปสระ เช่น
           ชดช้อย
           ชมัยพร
           ชลธิชา
           ชวน
           ชาติชาย
           เชย

3.4 คำที่ข้นต้นด้วยตัวพยัญชนะเดียวกัน และมีรูปสระกำกับ ให้เรียงตามรูปสระ ดังนี้
           -ะ           กะรัต
           กั             กังสดาล
           กัะ          กั๊วะ
           -า            กานดา
           กำ           กำปั้น
           กิ             กินรี
           กี             กีรติ
           กึ             กึ๋น
           กื             กือเจริญ
           กุ             กุลสตรี
           กู             กูลเกื้อ
           เ-             เก็จแก้ว
           เ-ะ          เกะกะ
           เ-า           เกาเหลา
           เ-าะ        เกาะแกะ
           แ-           แกนกลาง
           แ-ะ         แกะรอย
           โ-            โกมล
           โ-ะ         โก๊ะตี๋
           ใ-            ใกล้บ้าน
           ไ-            ไกรสร

3.5 คำที่มีวรรณยุกต์กำกับ เรียงโดยไม่ต้องคำนึงถึงลำดับวรรณยุกต์ เช่น
           ป้องกัน
           ปองพอง
           ป่าชายเลน
           ป้านน้ำชา
           ป่าละเมาะ

3.6 ตัวเลข สัญลักษณ์ และคำย่อ ให้เรียงตามเสียงอ่าน
           ดอกช่อนกลิ่น
           ดร. อาทิตย์
           ยี่ภู่
           20 นาที

3.7 อักษรย่อเรียงไว้ก่อนคำที่ขึ้นต้นด้วยตัวอักษรเดียวกัน เช่น
           ก. ศยามานนท์
           ก. สุรางคนางค์
           กฤษณา อโศกสิน
           กาญจนา เพชรมณี

4. การเรียงรายการบรรณานุกรมภาษาอังกฤษ ยึดหลักเกณฑ์ ดังนี้

           4.1 เรียงตามลำดับตัวอักษรตั้งแต่ A-Z โดยให้เรียงตามลำดับอักษรแบบคำต่อคำ (word by word) คือ ดูคำแต่ละคำ ในแต่ละคำ ให้ดูตามลำดับอักษรตัวแรก ถ้าอักษรตัวแรกเหมือนกัน ก็เรียงตามตัวที่สอง ถ้าตัวที่สองเหมือนกัน ก็เรียงตามตัวที่สาม ไปเรื่อยๆ และถ้าคำแรกเหมือนกัน ก็เรียงตามคำที่สอง คำที่สองเหมือนกันก็ดูคำที่สาม ไปเรื่อยๆ เช่น
           Tea New England
           Ten New York
           Tennis Newman
           Tense Newspaper

4.2 คำที่ปรากฏเครื่องหมาย & ให้เรียงเหมือนคำว่า “and” เช่น
           England & Canada
           England and her colonies

4.3 คำที่มีการตัดทอนให้สั้นลง โดยใช้เครื่องหมาย Apostrophe (‘) เช่น Who’s หรือ Isn’t ฯลฯ ให้นับเป็นคำเดียวกัน โดยไม่ต้องคำนึงถึงเครื่องหมาย เช่น
           Boy’s book of body
           Boys will be boys

4.4 คำที่ขึ้นต้นด้วย article ให้เรียงตามลำดับตัวอักษรของคำถัดไป โดยไม่คำนึงถึง article และถ้า article ที่ไม่ใช่คำแรกของชื่อเรื่อง ให้เรียงตามลำดับอักษรเหมือนคำทั่วไป เช่น
           Animus and animal
           Between people
           A jungian model of adult

4.5 คำนำหน้าชื่อ เช่น M’ Mc หรือ Mac ให้เรียงตามชื่อที่ปรากฏ โดยไม่ต้องคำนึงถึงเครื่องหมาย เช่น
           MacArthur
           Mcallister
           M’ Carthy

5. การเรียงรายการบรรณานุกรมกรณีผู้แต่งคนแรกมีชื่อหรือนามสกุลเหมือนกัน ใช้หลักเกณฑ์ดังนี้

5.1 ผู้แต่งชาวไทย ชื่อเหมือนกัน ให้เรียงตามนามสกุล ชาวต่างประเทศนามสกุลเหมือนกันเรียกตาม     อักษรของชื่อต้น และชื่อกลาง เช่น
           สมศักดิ์ เมธีปกรณ์
           สมศักดิ์ ศรีมาโนชน์
           William, J.
           William, T.M.

5.2 เรียงรายการบรรณานุกรมที่มีชื่อผู้แต่งคนเดียวไว้ก่อนรายการที่มีผู้แต่งหลายคน เช่น
           สุชา จันทร์เอม
           สุชา จันทร์เอม, และสุรางค์ จันทร์เอม
           Bass, B.M.
           Bass, B.M., & Avolio, B.J.

5.3 รายการบรรณานุกรมที่มีชื่อผู้แต่งเหมือนกันทุกคน ให้จัดเรียงตามปีที่พิมพ์ เช่น
           พวา พันธ์เมฆา. (2538).
           พวา พันธ์เมฆา. (2540).
           Hersey, P.& Blanchard, T. (1989).
           Hersey, P.& Blanchard, T. (1999).

5.4 รายการบรรณานุกรมที่มีชื่อผู้แต่งคนแรกซ้ำกัน ให้เรียงตามชื่อผู้แต่งคนลำดับต่อมา เช่น
           เกษมสุข เฉลียวศักดิ์, และ วรรณี ลิมอักษร
           เกษมสุข เฉลียวศักดิ์, และ ศุภาวดี บุญวงศ์

5.5 รายการบรรณานุกรมที่มีชื่อผู้แต่งเหมือนกัน และพิมพ์ในปีเดียวกัน ให้เรียงตามลำดับอักษร ก,ข,ค,…
หรือ a,b,c,… ที่กำกับไว้หลังปีพิมพ์ เช่น
           สุธิวงศ์ พงษ์ไพบูลย์. (2529ก).
           สุธิวงศ์ พงษ์ไพบูลย์. (2529ข).
           Bass, B.M. (1990a).
           Bass, B.M. (1990b).

6. รายการบรรณานุกรมที่มีชื่อผู้แต่งเป็นสถาบัน สมาคม หน่วยงาน ให้เรียงตามลำดับอักษรตัวแรกของชื่อสถาบันที่สะกดเต็ม เช่น
           มสธ. คือ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
           ส.ต.ง. คือ สำนักงานตรวจเงินแผ่นดิน

 


การใช้พจนานุกรม


ใชในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

การใช้พจนานุกรม

คลิปที่มาแรงตอนนี้


คลิปที่มาแรงตอนนี้

หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และการประยุกต์ใช้


หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และการประยุกต์ใช้

การใช้พจนานุกรม – สื่อการเรียนการสอน ภาษาไทย ป.5


สื่อการเรียนการสอน วิชา ภาษาไทย ระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ 5
เรื่อง การใช้พจนานุกรม
การเปิดใช้งานพจนานุกรม
สื่อการสอน ระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ 5
ประกอบไปด้วยทั้งหมด 5 กลุ่มสาระวิชา
1. กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิชาภาษาไทย
2. กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิชาภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ)
3. กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิชาคณิตศาสตร์
4. กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิชาสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
5. กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิชาวิทยาศาสตร์
ท่านสามารถติดตาม สื่อการเรียนการสอน
\”ครูโอ๋ สื่อการเรียนการสอน\” ได้อีกหลายช่องทาง
webpage : http://www.kruao.com (ครูโอ๋)
fanpage : https://goo.gl/O22C3X
google+ : https://goo.gl/OBu7ia
youtube : https://goo.gl/bZlYwE
twitter : https://goo.gl/yHzunt
ฝากติดตามเพจ channel website ด้วยครับเพื่อพบกับ
สื่อการเรียนการสอน ที่เราอัพเดทให้ใหม่ๆ ตลอดฟรีๆ
สื่อการสอนนี้นำมาจาก
โครงการแท็บเล็ตพีซีเพื่อการศึกษาไทย
(OTPC : One Tablet Per Child)
จัดทำโดยสำนักงานเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
เรียนภาษาไทย สื่อการสอนภาษาไทย ครูโอ๋ สื่อการเรียนการสอน
เรียนภาษาไทยด้วยตนเอง อ่านออกเขียนได้ คำศัพท์ภาษาไทย สอนภาษาไทย สื่อการสอนป5

การใช้พจนานุกรม - สื่อการเรียนการสอน ภาษาไทย ป.5

คำศัพท์ครอบครัว ภาษาอังกฤษ family


คำศัพท์ครอบครัว ภาษาอังกฤษ family
คำศัพท์อังกฤษ ครอบครัว family

คำศัพท์ครอบครัว ภาษาอังกฤษ family

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆLEARN FOREIGN LANGUAGE

ขอบคุณที่รับชมกระทู้ครับ การเรียงลําดับตามพจนานุกรม

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *