Skip to content
Home » [NEW] สัญลักษ์แสดงอันตรายสารเคมี (Hazard Pictogram) | สัญลักษณ์ ตกใจ – NATAVIGUIDES

[NEW] สัญลักษ์แสดงอันตรายสารเคมี (Hazard Pictogram) | สัญลักษณ์ ตกใจ – NATAVIGUIDES

สัญลักษณ์ ตกใจ: นี่คือโพสต์ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อนี้

United Nations Committee of Experts on the Transport of Dangerous Goods จำแนกสารที่เป็นอันตรายและเป็นเหตุให้ถึงแก่ชีวิตได้ หรือก่อให้เกิดความเสียหาย ออกเป็น 9 ประเภท (UN-Class) ตามลักษณะที่ก่อให้เกิดอันตรายหรือความเสี่ยงในการเกิดอันตราย

ประเภท 1 : ระเบิดได้
Class 1 : Explosives

ของแข็งหรือของเหลว หรือสารผสมที่สามารถเกิดปฏิกิริยาทางเคมีด้วยตัวมันเอง ทำให้เกิดแก๊สที่มีความดัน และความร้อนอย่างรวดเร็ว ก่อให้เกิดการระเบิดสร้างความเสียหายแก่บริเวณโดยรอบได้ ซึ่งรวมถึงสารที่ใช้ทำดอกไม้เพลิงและสิ่งของที่ระเบิดได้ด้วย แบ่งเป็น 6 กลุ่มย่อย ได้แก่

1.1 สารหรือสิ่งของที่ก่อให้เกิดอันตรายจากการระเบิดอย่างรุนแรงทันทีทันใดทั้งหมด (Mass Explosive) เช่น เชื้อปะทุ ลูกระเบิด เป็นต้น
1.2 สารหรือสิ่งของที่มีอันตรายจากการระเบิดแตกกระจาย แต่ไม่ระเบิดทันทีทันใด ทั้งหมด เช่น กระสุนปืน ทุ่นระเบิด ชนวนปะทุ เป็นต้น
1.3 สารหรือสิ่งของที่เสี่ยงต่อการเกิดเพลิงไหม้และอาจมีอันตรายบ้าง จากการระเบิด หรือการระเบิดแตกกระจาย แต่ไม่ระเบิดทันทีทันใดทั้งหมด เช่น กระสุนเพลิง เป็นต้น
1.4 สารหรือสิ่งของที่ไม่แสดงความเป็นอันตรายอย่างเด่นชัด หากเกิดการปะทุหรือปะทุในระหว่างการขนส่ง จะเกิดความเสียหายเฉพาะภาชนะบรรจุ เช่น พลุอากาศ เป็นต้น
1.5 สารที่ไม่ไวต่อการระเบิด แต่หากมีการระเบิดจะมีอันตรายจากการระเบิดทั้งหมด
1.6 สิ่งของที่ไวต่อการระเบิดน้อยมากและไม่ระเบิดทันทีทั้งหมด มีความเสี่ยงต่อการระเบิดอยู่ในวงจำกัด เฉพาะในตัวสิ่งของนั้นๆ ไม่มีโอกาสที่จะเกิดการปะทุหรือแผ่กระจาย

ประเภทที่ 2 : แก๊ส
Class 2 : Gases

สารที่อุณหภูมิ 50°C มีความดันไอมากกว่า 300 kP หรือมีสภาพเป็นแก๊สอย่างสมบูรณ์ที่อุณหภูมิ 20°C และมีความดัน 101.3 kP ได้แก่ แก๊สอัด แก๊สพิษ แก๊สในสภาพของเหลว แก๊สในสภาพของเหลวอุณหภูมิต่ำ และรวมถึงแก๊สที่ละลายในสารละลายภายใต้ความดัน เมื่อเกิดการรั่ว ไหลสามารถก่อให้เกิดอันตรายจากการลุกติดไฟและ/หรือเป็นพิษและแทนที่ออกซิเจนในอากาศ แบ่งเป็น 3 กลุ่มย่อย ดังนี้

2.1 แก๊สไวไฟ (Flammable Gases) หมายถึง แก๊สที่อุณหภูมิ 20°C  และมีความดัน 101.3 kP สามารถติดไฟได้เมื่อผสมกับ อากาศ 13% หรือต่ำกว่าโดยปริมาตร หรือมีช่วงกว้างที่สามารถติดไฟได้ 12% ขึ้นไป เมื่อผสมกับอากาศโดยไม่คำนึงถึง ความเข้มข้นต่ำสุดของการผสม โดยปกติแก๊สไวไฟ หนักกว่าอากาศ ตัวอย่างของแก๊สกลุ่มนี้ เช่น อะเซทิลีน ก๊าซหุงต้มหรือก๊าซแอลพีจี เป็นต้น
2.2 แก๊สไม่ไวไฟและไม่เป็นพิษ (Non-flammable Non-toxic Gases) หมายถึง แก๊สที่มีความดันไม่น้อยกว่า 280 กิโลปาสคาล ที่อุณหภูมิ 20°C หรืออยู่ ในสภาพของเหลวอุณหภูมิต่ำ ส่วนใหญ่เป็นก๊าซหนักกว่าอากาศ ไม่ติดไฟและ ไม่เป็นพิษหรือแทนที่ออกซิเจนในอากาศและทำให้เกิด สภาวะขาดแคลน ออกซิเจนได้ ตัวอย่างของแก๊สกลุ่มนี้ เช่น ไนโตรเจน คาร์บอนไดออกไซด์ อาร์กอน เป็นต้น
2.3 แก๊สพิษ (Poison Gases) หมายถึง แก๊สที่มีคุณสมบัติเป็นอันตรายต่อสุขภาพหรือถึงแก่ชีวิตได้จาก การหายใจ โดยส่วนใหญ่หนักกว่าอากาศ มีกลิ่นระคายเคือง ตัวอย่างของแก๊สในกลุ่มนี้ เช่น คลอรีน เมทิลโบรไมด์ เป็นต้น

ประเภทที่ 3 : ของเหลวไวไฟ
Class 3 : Flammable Liquids
ของเหลวหรือของเหลวผสมที่มีจุดวาบไฟ (Flash Point) ไม่เกิน 60.5°C  จากการทดสอบด้วยวิธีถ้วยปิด หรือไม่เกิน 65.6°C จากการทดสอบด้วยวิธีถ้วยเปิด ไอของเหลวไวไฟพร้อมลุกติดไฟเมื่อมีแหล่งประกายไฟ เช่น แอซีโตน น้ำมันเชื้อเพลิง ทินเนอร์ เป็นต้น

ประเภทที่ 4 : ของแข็งไวไฟ
Class 4 : Flammable solid

สารที่ลุกไหใ้ได้เองและสารที่สัมผัสกับน้ำแล้วให้แก๊สไวไฟ
4.1 ของแข็งไวไฟ (Flammable Solids) หมายถึง ของแข็งที่สามารถติดไฟได้ง่ายจากการได้รับความร้อน จากประกายไฟ/เปลวไฟ หรือเกิดการลุกไหม้ได้จากการเสียดสี เช่น กำมะถัน ฟอสฟอรัสแดง ไนโตรเซลลูโลส เป็นต้น หรือเป็นสารที่มีแนวโน้มที่จะเกิดปฏิกิริยาคายความร้อนที่รุนแรง เช่น เกลือไดอะโซเนียม หรือเป็นสารระเบิดที่ถูกลดความไวต่อการเกิดระเบิด เช่น แอมโมเนียมพิเครต (เปียก) ไดไนโตรฟีนอล (เปียก) เป็นต้น
4.2 สารที่มีความเสี่ยงต่อการลุกไหม้ได้เอง (Substances Liable to Spontaneous Combustion) หมายถึง สารที่มีแนวโน้มจะเกิดความร้อนขึ้นได้เองในสภาวะการขนส่งตามปกติ หรือเกิดความร้อนสูงขึ้นได้เมื่อ สัมผัสกับอากาศและ มีแนวโน้มจะลุกไหม้ได้ 
4.3 สารที่สัมผัสกับน้ำแล้วทำให้เกิดก๊าซไวไฟ (Substances which in Contact with Water Emit Flammable Gases) หมายถึง สารที่ทำปฏิกิริยากับน้ำแล้ว มีแนวโน้มที่จะเกิดการติดไฟได้เองหรือทำให้เกิด แก๊สไวไฟในปริมาณที่เป็นอันตราย

ประเภทที่ 5 :สารออกซิไดซ์และสารอินทรีย์เปอร์ออกไซด์
Class 5 : Oxidizing and Organic peroxide

5.1 สารออกซิไดส์ (Oxidizing) หมายถึง ของแข็ง ของเหลวที่ตัวของสารเองไม่ติดไฟ แต่ให้ออกซิเจนซึ่งช่วยให้วัตถุอื่นเกิดการลุกไหม้และอาจจะก่อให้เกิดไฟ เมื่อสัมผัสกับสารที่ลุกไหม้และ เกิดการระเบิดอย่างรุนแรง เช่น แคลเซียมไฮโปคลอไรท์ โซเดียมเปอร์ออกไซด์ โซเดียมคลอเรต เป็นต้น
5.2 สารอินทรีย์เปอร์ออกไซด์ (Organic Peroxides) หมายถึง ของแข็งหรือของเหลวที่มีโครงสร้าง ออกซิเจนสองอะตอม -O-O- และช่วยในการเผาสารที่ลุกไหม้ หรือทำปฏิกิริยากับสารอื่นแล้วก่อให้เกิดอันตรายได้ หรือเมื่อได้รับความร้อนหรือลุกไหม้แล้วภาชนะบรรจุสารนี้อาจระเบิดได้ เช่น แอซีโตนเปอร์ออกไซด์ เป็นต้น

ประเภทที่ 6 : สารพิษและสารติดเชื้อ
Class 6 : Toxic 

 

 6.1 สารพิษ (Toxic Substances) หมายถึง ของแข็งหรือของเหลวที่สามารถทำให้เสียชีวิตหรือบาดเจ็บ รุนแรงต่อสุขภาพของคน หากกลืน สูดดมหรือหายใจรับสารนี้เข้าไป หรือเมื่อสารนี้ได้รับความร้อนหรือลุกไหม้จะ ปล่อยแก๊สพิษ เช่น โซเดียมไซยาไนด์ กลุ่มสารกำจัดแมลงศัตรูพืชและสัตว์ เป็นต้น
6.2 สารติดเชื้อ (Infectious Substances) หมายถึง สารที่มีเชื้อโรคปนเปื้อนหรือสารที่มีตัวอย่าง การตรวจสอบของพยาธิ สภาพปนเปื้อนที่เป็นสาเหตุของ การเกิดโรคในสัตว์และคน เช่น แบคทีเรียเพาะเชื้อ เป็นต้น 

ประเภทที่ 7 : วัสดุกัมมันตรังสี
Class 7 : Radioactivity

วัสดุที่สามารถแผ่รังสีที่มองไม่เห็นอย่างต่อเนื่องมากกว่า 0.002 ไมโครคูรีต่อกรัม เช่น โมนาไซด์ ยูเรเนียม โคบอลต์-60 เป็นต้น

ประเภทที่ 8 : สารกัดกร่อน
Class 8 : Corrosion

ของแข็งหรือของเหลวซึ่งโดย ปฏิกิริยาเคมีมีฤทธิ์กัดกร่อนทำความเสียหาย ต่อเนื้อเยื่อของสิ่งมีชีวิตอย่างรุนแรงหรือ ทำลายสินค้า/ยานพาหนะที่ทำการขนส่ง เมื่อเกิดการรั่วไหลของสารไอระเหยของ สารประเภทนี้ บางชนิดก่อให้เกิดการ ระคายเคืองต่อจมูกและตา เช่น HCl, H2SO4, NaOH เป็นต้น

ประเภทที่ 9 : วัสดุอันตรายเบ็ดเตล็ด
Class 9 : Miscellaneous Dangerous Substances and Articles

สารหรือสิ่งของที่ในขณะขนส่งเป็นสารอันตรายซึ่งไม่จัดอยู่ในประเภทที่ 1 ถึง 8 เช่น ปุ๋ยแอมโมเนียมไนเตรต เป็นต้น และให้รวมถึงสารที่ต้องควบคุมให้มีอุณหภูมิไม่ต่ำกว่า 100°C ในสภาพของเหลวหรือมีอุณหภูมิ ไม่ต่ำกว่า 240°C  ในสภาพของแข็งในระหว่างการขนส่

[NEW] สัญลักษ์แสดงอันตรายสารเคมี (Hazard Pictogram) | สัญลักษณ์ ตกใจ – NATAVIGUIDES

United Nations Committee of Experts on the Transport of Dangerous Goods จำแนกสารที่เป็นอันตรายและเป็นเหตุให้ถึงแก่ชีวิตได้ หรือก่อให้เกิดความเสียหาย ออกเป็น 9 ประเภท (UN-Class) ตามลักษณะที่ก่อให้เกิดอันตรายหรือความเสี่ยงในการเกิดอันตราย

ประเภท 1 : ระเบิดได้
Class 1 : Explosives

ของแข็งหรือของเหลว หรือสารผสมที่สามารถเกิดปฏิกิริยาทางเคมีด้วยตัวมันเอง ทำให้เกิดแก๊สที่มีความดัน และความร้อนอย่างรวดเร็ว ก่อให้เกิดการระเบิดสร้างความเสียหายแก่บริเวณโดยรอบได้ ซึ่งรวมถึงสารที่ใช้ทำดอกไม้เพลิงและสิ่งของที่ระเบิดได้ด้วย แบ่งเป็น 6 กลุ่มย่อย ได้แก่

1.1 สารหรือสิ่งของที่ก่อให้เกิดอันตรายจากการระเบิดอย่างรุนแรงทันทีทันใดทั้งหมด (Mass Explosive) เช่น เชื้อปะทุ ลูกระเบิด เป็นต้น
1.2 สารหรือสิ่งของที่มีอันตรายจากการระเบิดแตกกระจาย แต่ไม่ระเบิดทันทีทันใด ทั้งหมด เช่น กระสุนปืน ทุ่นระเบิด ชนวนปะทุ เป็นต้น
1.3 สารหรือสิ่งของที่เสี่ยงต่อการเกิดเพลิงไหม้และอาจมีอันตรายบ้าง จากการระเบิด หรือการระเบิดแตกกระจาย แต่ไม่ระเบิดทันทีทันใดทั้งหมด เช่น กระสุนเพลิง เป็นต้น
1.4 สารหรือสิ่งของที่ไม่แสดงความเป็นอันตรายอย่างเด่นชัด หากเกิดการปะทุหรือปะทุในระหว่างการขนส่ง จะเกิดความเสียหายเฉพาะภาชนะบรรจุ เช่น พลุอากาศ เป็นต้น
1.5 สารที่ไม่ไวต่อการระเบิด แต่หากมีการระเบิดจะมีอันตรายจากการระเบิดทั้งหมด
1.6 สิ่งของที่ไวต่อการระเบิดน้อยมากและไม่ระเบิดทันทีทั้งหมด มีความเสี่ยงต่อการระเบิดอยู่ในวงจำกัด เฉพาะในตัวสิ่งของนั้นๆ ไม่มีโอกาสที่จะเกิดการปะทุหรือแผ่กระจาย

ประเภทที่ 2 : แก๊ส
Class 2 : Gases

สารที่อุณหภูมิ 50°C มีความดันไอมากกว่า 300 kP หรือมีสภาพเป็นแก๊สอย่างสมบูรณ์ที่อุณหภูมิ 20°C และมีความดัน 101.3 kP ได้แก่ แก๊สอัด แก๊สพิษ แก๊สในสภาพของเหลว แก๊สในสภาพของเหลวอุณหภูมิต่ำ และรวมถึงแก๊สที่ละลายในสารละลายภายใต้ความดัน เมื่อเกิดการรั่ว ไหลสามารถก่อให้เกิดอันตรายจากการลุกติดไฟและ/หรือเป็นพิษและแทนที่ออกซิเจนในอากาศ แบ่งเป็น 3 กลุ่มย่อย ดังนี้

2.1 แก๊สไวไฟ (Flammable Gases) หมายถึง แก๊สที่อุณหภูมิ 20°C  และมีความดัน 101.3 kP สามารถติดไฟได้เมื่อผสมกับ อากาศ 13% หรือต่ำกว่าโดยปริมาตร หรือมีช่วงกว้างที่สามารถติดไฟได้ 12% ขึ้นไป เมื่อผสมกับอากาศโดยไม่คำนึงถึง ความเข้มข้นต่ำสุดของการผสม โดยปกติแก๊สไวไฟ หนักกว่าอากาศ ตัวอย่างของแก๊สกลุ่มนี้ เช่น อะเซทิลีน ก๊าซหุงต้มหรือก๊าซแอลพีจี เป็นต้น
2.2 แก๊สไม่ไวไฟและไม่เป็นพิษ (Non-flammable Non-toxic Gases) หมายถึง แก๊สที่มีความดันไม่น้อยกว่า 280 กิโลปาสคาล ที่อุณหภูมิ 20°C หรืออยู่ ในสภาพของเหลวอุณหภูมิต่ำ ส่วนใหญ่เป็นก๊าซหนักกว่าอากาศ ไม่ติดไฟและ ไม่เป็นพิษหรือแทนที่ออกซิเจนในอากาศและทำให้เกิด สภาวะขาดแคลน ออกซิเจนได้ ตัวอย่างของแก๊สกลุ่มนี้ เช่น ไนโตรเจน คาร์บอนไดออกไซด์ อาร์กอน เป็นต้น
2.3 แก๊สพิษ (Poison Gases) หมายถึง แก๊สที่มีคุณสมบัติเป็นอันตรายต่อสุขภาพหรือถึงแก่ชีวิตได้จาก การหายใจ โดยส่วนใหญ่หนักกว่าอากาศ มีกลิ่นระคายเคือง ตัวอย่างของแก๊สในกลุ่มนี้ เช่น คลอรีน เมทิลโบรไมด์ เป็นต้น

ประเภทที่ 3 : ของเหลวไวไฟ
Class 3 : Flammable Liquids
ของเหลวหรือของเหลวผสมที่มีจุดวาบไฟ (Flash Point) ไม่เกิน 60.5°C  จากการทดสอบด้วยวิธีถ้วยปิด หรือไม่เกิน 65.6°C จากการทดสอบด้วยวิธีถ้วยเปิด ไอของเหลวไวไฟพร้อมลุกติดไฟเมื่อมีแหล่งประกายไฟ เช่น แอซีโตน น้ำมันเชื้อเพลิง ทินเนอร์ เป็นต้น

ประเภทที่ 4 : ของแข็งไวไฟ
Class 4 : Flammable solid

สารที่ลุกไหใ้ได้เองและสารที่สัมผัสกับน้ำแล้วให้แก๊สไวไฟ
4.1 ของแข็งไวไฟ (Flammable Solids) หมายถึง ของแข็งที่สามารถติดไฟได้ง่ายจากการได้รับความร้อน จากประกายไฟ/เปลวไฟ หรือเกิดการลุกไหม้ได้จากการเสียดสี เช่น กำมะถัน ฟอสฟอรัสแดง ไนโตรเซลลูโลส เป็นต้น หรือเป็นสารที่มีแนวโน้มที่จะเกิดปฏิกิริยาคายความร้อนที่รุนแรง เช่น เกลือไดอะโซเนียม หรือเป็นสารระเบิดที่ถูกลดความไวต่อการเกิดระเบิด เช่น แอมโมเนียมพิเครต (เปียก) ไดไนโตรฟีนอล (เปียก) เป็นต้น
4.2 สารที่มีความเสี่ยงต่อการลุกไหม้ได้เอง (Substances Liable to Spontaneous Combustion) หมายถึง สารที่มีแนวโน้มจะเกิดความร้อนขึ้นได้เองในสภาวะการขนส่งตามปกติ หรือเกิดความร้อนสูงขึ้นได้เมื่อ สัมผัสกับอากาศและ มีแนวโน้มจะลุกไหม้ได้ 
4.3 สารที่สัมผัสกับน้ำแล้วทำให้เกิดก๊าซไวไฟ (Substances which in Contact with Water Emit Flammable Gases) หมายถึง สารที่ทำปฏิกิริยากับน้ำแล้ว มีแนวโน้มที่จะเกิดการติดไฟได้เองหรือทำให้เกิด แก๊สไวไฟในปริมาณที่เป็นอันตราย

ประเภทที่ 5 :สารออกซิไดซ์และสารอินทรีย์เปอร์ออกไซด์
Class 5 : Oxidizing and Organic peroxide

5.1 สารออกซิไดส์ (Oxidizing) หมายถึง ของแข็ง ของเหลวที่ตัวของสารเองไม่ติดไฟ แต่ให้ออกซิเจนซึ่งช่วยให้วัตถุอื่นเกิดการลุกไหม้และอาจจะก่อให้เกิดไฟ เมื่อสัมผัสกับสารที่ลุกไหม้และ เกิดการระเบิดอย่างรุนแรง เช่น แคลเซียมไฮโปคลอไรท์ โซเดียมเปอร์ออกไซด์ โซเดียมคลอเรต เป็นต้น
5.2 สารอินทรีย์เปอร์ออกไซด์ (Organic Peroxides) หมายถึง ของแข็งหรือของเหลวที่มีโครงสร้าง ออกซิเจนสองอะตอม -O-O- และช่วยในการเผาสารที่ลุกไหม้ หรือทำปฏิกิริยากับสารอื่นแล้วก่อให้เกิดอันตรายได้ หรือเมื่อได้รับความร้อนหรือลุกไหม้แล้วภาชนะบรรจุสารนี้อาจระเบิดได้ เช่น แอซีโตนเปอร์ออกไซด์ เป็นต้น

ประเภทที่ 6 : สารพิษและสารติดเชื้อ
Class 6 : Toxic 

 

 6.1 สารพิษ (Toxic Substances) หมายถึง ของแข็งหรือของเหลวที่สามารถทำให้เสียชีวิตหรือบาดเจ็บ รุนแรงต่อสุขภาพของคน หากกลืน สูดดมหรือหายใจรับสารนี้เข้าไป หรือเมื่อสารนี้ได้รับความร้อนหรือลุกไหม้จะ ปล่อยแก๊สพิษ เช่น โซเดียมไซยาไนด์ กลุ่มสารกำจัดแมลงศัตรูพืชและสัตว์ เป็นต้น
6.2 สารติดเชื้อ (Infectious Substances) หมายถึง สารที่มีเชื้อโรคปนเปื้อนหรือสารที่มีตัวอย่าง การตรวจสอบของพยาธิ สภาพปนเปื้อนที่เป็นสาเหตุของ การเกิดโรคในสัตว์และคน เช่น แบคทีเรียเพาะเชื้อ เป็นต้น 

ประเภทที่ 7 : วัสดุกัมมันตรังสี
Class 7 : Radioactivity

วัสดุที่สามารถแผ่รังสีที่มองไม่เห็นอย่างต่อเนื่องมากกว่า 0.002 ไมโครคูรีต่อกรัม เช่น โมนาไซด์ ยูเรเนียม โคบอลต์-60 เป็นต้น

ประเภทที่ 8 : สารกัดกร่อน
Class 8 : Corrosion

ของแข็งหรือของเหลวซึ่งโดย ปฏิกิริยาเคมีมีฤทธิ์กัดกร่อนทำความเสียหาย ต่อเนื้อเยื่อของสิ่งมีชีวิตอย่างรุนแรงหรือ ทำลายสินค้า/ยานพาหนะที่ทำการขนส่ง เมื่อเกิดการรั่วไหลของสารไอระเหยของ สารประเภทนี้ บางชนิดก่อให้เกิดการ ระคายเคืองต่อจมูกและตา เช่น HCl, H2SO4, NaOH เป็นต้น

ประเภทที่ 9 : วัสดุอันตรายเบ็ดเตล็ด
Class 9 : Miscellaneous Dangerous Substances and Articles

สารหรือสิ่งของที่ในขณะขนส่งเป็นสารอันตรายซึ่งไม่จัดอยู่ในประเภทที่ 1 ถึง 8 เช่น ปุ๋ยแอมโมเนียมไนเตรต เป็นต้น และให้รวมถึงสารที่ต้องควบคุมให้มีอุณหภูมิไม่ต่ำกว่า 100°C ในสภาพของเหลวหรือมีอุณหภูมิ ไม่ต่ำกว่า 240°C  ในสภาพของแข็งในระหว่างการขนส่


ถ้าเกิดอาการดังต่อไปนี้ อย่าตกใจให้รู้เลยว่า มีกายทิพย์เหล่าเทวดาอยู่ใกล้ๆ พร้อมบทสวดหลังสวดมนต์


ถ้าเกิดอาการดังต่อไปนี้ อย่าตกใจให้รู้เลยว่า มีกายทิพย์เหล่าเทวดาอยู่ใกล้ๆ พร้อมบทสวดหลังสวดมนต์@เรื่องเล่าผ่านกาลเวลา
ถ้าเกิดอาการดังต่อไปนี้ อย่าตกใจ มีกายทิพย์เหล่าเทวดาอยู่ใกล้ๆ บทสวดหลังสวดมนต์

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

ถ้าเกิดอาการดังต่อไปนี้ อย่าตกใจให้รู้เลยว่า มีกายทิพย์เหล่าเทวดาอยู่ใกล้ๆ พร้อมบทสวดหลังสวดมนต์

10 สัตว์โลก ที่คุณควรดีใจที่มันสูญพันธุ์ไปแล้ว(สัตว์ดึกดำบรรพ์)


▶ 10 สัตว์โลก ที่คุณควรดีใจที่มันสูญพันธุ์ไปแล้ว!!
เราไปดูกันครับว่า สัตว์สุดอันตรายเหล่านี้จะเป็นไง
Pomster Freestyle
More video : https://goo.gl/90CLv4
▶ Donate(ร่วมสนับสนุน) ผ่านทางบัญชี Paypal
https://www.paypal.me/pomster
▶ Donate(ร่วมสนับสนุน) ผ่านทางTrueMoney
0828622458
10. Kaprosuchus คาพรอสเซอร์คัส จระเข้เถื่อน
Kaprosuchus เป็นสัตว์ในตระกูลจระเข้ ที่อาศัยอยู่เมื่อ 100 ล้านปีก่อน ซึ่งเป็นจุดสุดยอดของวิวัฒนาการจระเข้ มันเป็นสัตว์นักล่าที่สมบูรณ์แบบมาก ด้วยขาอันยาวแบบไดโนเสาร์ ทำให้มันว่ายน้ำไวมากและมันยังวิ่งบนบกได้เร็วอีกด้วย ถึงแม้มันจะเป็นสัตว์นักล่าไร้เทียมทาน แต่เมื่อเข้าสู่ยุคน้ำแข็ง Kaprosuchus ก็สูญพันธุ์ไป ซึ่งอาจจะเป็นโชคดีของเราก็ได้ ที่ปัจจุบันเหลือแต่จระเข้ขาสั้นๆ แบบที่เรารู้จักเท่านั้น ไม่อย่างนั้นละก็ นึกไม่ออกเลยว่าเราจะวิ่งหนีจระเข้แบบนี้กันยังไง
9. Megalodon เมกาโลดอน
นี่คือคือฉลามใหญ่สุดเท่าที่โลกเคยมีมา ฉลามชนิดนี้อยู่อาศัยอยู่บนโลกเมื่อ 12,000 ปีก่อน ญาติสนิทของ Megalodon ที่หลงเหลือในปัจจุบันคือ “ฉลามขาว” ขนาดของเมกาโลดอนยังไม่เป็นที่แน่ชัดนัก แต่นักวิจัย คาดว่ามีความยาวประมาณ 20 – 25 เมตร น้ำหนัก 20 – 45 ตัน ปากอ้าได้กว้างประมาณ 3 เมตร ฉลาม ชนิดนี้กินวาฬและสัตว์ใหญ่เป็นอาหาร ซึ่งนักวิทยาศาสตร์เชื่อว่า มันสูญพันธุ์เพราะภูมิอากาศของโลกเปลี่ยนแปลง และวาฬย้ายถิ่น จากทะเลเขตร้อนเข้าสู่เขตหนาวใกล้ขั้วโลก
8. Andrewsarchus แอนดรูซอร์คัส ฮายีน่าดึกดำบรรพ์
นี่เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่กินเนื้อขนาดใหญ่ที่สุด มันมีชีวิตอยู่ในช่วง 3260 ล้านปีก่อน ซึ่งนักวิทยาศาสตร์เชื่อว่าแอนดรูซอร์คัส แพร่ขยายสายพันธุ์อย่างรวดเร็วหลังไดโนเสาร์สูญพันธุ์ แอนดรูซอร์คัส มีความฉลาด ร่างกายยาว, หางยาว, ปากยื่นออก มีลักษณะคล้ายฮายีน่าในปัจจุบัน ซึ่งนักวิทยาศาสตร์ให้ฉายยากับมันว่า “ฝันร้ายของยุคดึกดำบรรพ์” ซึ่งสัตว์ต่างๆ ในยุคนั้นต่างหวาดกลัวมัน แต่ที่เป็นเรื่องน่าแปลกก็คือ สัตว์ดุร้ายชนิดนี้ เป็นญาติห่างๆกับแกะอีกด้วย
7. Pulmonoscorpius พูโมโนสโคเพียส แมงป่องยักษ์
หากคุณเป็นคนที่ไม่ชอบแมงป่อง นี้จะทำให้คุณยินดีกับการสูญพันธุ์ของแมงป่องยักษ์นี้ Pulmonoscorpius ดูคล้ายกับแมงป่องทั่วไปในปัจจุบบัน ที่มีก้ามสองข้างด้านหน้า มีเหล็กในพิษอยู่ตรงหาง แต่แมงป่องยักษ์นี้มีขนาดที่ใหญ่กว่ามาก ซึ่งมันยาวถึง 70 เซนติเมตร ฟอสซิลของแมงป่องยักษ์ถูกพบที่สก็อตแลนด์ ซึ่งมันได้สูญพันธุ์ไปเมื่อ 1 ล้านปีที่แล้ว
6. Megapiranha เมก้าปิรันยา ปลาปิรันย่ายักษ์
ปลาปิรันยาเป็นสัตว์กินเนื้อขนาดเล็ก ที่อาศัยอยู่ในอเมซอน ซึ่งมันสามารถซีกกินเนื้อได้ภายในไม่กี่นาที แต่ความโหดร้ายของมัน เทียบไม่ได้กับปลาปิรันยายักษ์สายพันธุ์นี้ ซึ่งมันมีขนาดลำตัวยาว 1 เมตร และไหว้น้ำได้อย่างรวดเร็ว แต่เป็นที่น่าดีใจสำหรับมนุษย์ เพราะปลาปิรันยายักษ์นี้ สูญพันธุ์ไปเมื่อประมาณ 810 ล้านปีที่แล้ว
5. Cameroceras คาเมโรเซอรัส ปลาหมึกกระดองยักษ์
ปลาหมึกกระดองยักษ์ คือสัตว์นักล่าใต้ท้องทะเลที่มีขนาดใหญ่ มันมีความยาวตลอดลำตัวประมาณ 912 เมตร มันเป็นสัตว์ที่ไม่มีดวงตา แต่ใช้ประสาทสัมผัสในการจับการเคลื่อนไหว และใช้หนวดของมันจับเหยื่อ ซึ่งปลาหมึกกระดองยักษ์ อาจเป็นสัตว์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในมหาสมุทร ช่วงที่มันยังมีชีวิตอยู่ และมันสูญพันธุ์ไปเมื่อ 470 ล้านปีที่แล้ว
4. Helicoprion เฮลิโคไพรออน ฉลามฟันเลื่อย
“เฮลิโคไพรออน” มันเป็นสัตว์ที่มีความแปลก ตรงที่มีฟันแหลมคล้ายเลื่อย ซึ่งนั่นเป็นฟันที่แข็งแรงขดเป็นวง คล้ายก้นหอย ด้วยความแปลกของมัน สร้างความประหลาดในใจให้แก่เหล่านักวิทยาศาสตร์ผู้เชี่ยวชาญไม่ใช่น้อย ฉลามชนิดนี้มีขนาดลำตัวยาวประมาณ 1015 ฟุต มันเคยอาศัยอยู่ในแถบตะวันออกรัฐไอดาโฮ ประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งฉลามฟันเลื่อยสูญพันธุ์ไปเมื่อประมาณ 225 ล้านปีก่อน
3. Gigantopithecus ไจแอนด์ท๊อปพิทีคัส ลิงยักษ์
ลิงยักษ์ไจแกนโทพิเธคัส รูปร่างเหมือนลิงอุรังอุตัง พบซากในป่าและภูเขาของจีน, อินเดีย และเวียดนาม มันมีความน่ากลัวมาก ด้วยความสูงถึง 3 เมตรหนึกถึง 550 กิโลกรัม มันปรับตัวเข้ากับสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนไปในทวีปเอเชียได้อย่างดี ทำให้มันแข็งแกร่งและอยู่รอดจากการล่าได้ แต่สุดท้ายมันก็สูญพันธุ์เมื่อ 300,000 ปีที่แล้ว เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
2. Titanoboa ไททันโอโบอา
ไททันโอโบอาเป็นงูที่ใหญ่ที่สุดในโลก ซึ่งมันเป็นงูไม่มีพิษจำพวกโบอา ที่มีลักษณะคล้ายกับงูเหลือมหรืองูหลาม พบได้ในทวีปอเมริกากลางและเกาะมาดากัสการ์ในปัจจุบัน นักวิทยาศาสตร์เชื่อว่า ไททันโอโบอา มีรูปร่างลักษณะและมีพฤติกรรมคล้ายงูอนาคอนดา อาหารของมันได้แก่ จระเข้และปลาขนาดใหญ่ ซึ่งมันมีความยาวเฉลี่ยประมาณ 1315 เมตร หนักถึง 2 ตัน ไททันโอโบอามีชีวิตอยู่ในบนโลกนี้เมื่อประมาณ 5860 ล้านปีก่อน
1. Terror bird เทเรอร์ เบิร์ด นกกระจอกเทศยักษ์
นกเทเรอร์ เบิร์ด เป็นนักฉวยโอกาสที่ดุร้ายที่สุด อาศัยในอเมริกาใต้และบางส่วนในทวีปอเมริกาเหนือ มันเป็นนกที่กินสัตว์อื่นๆ เป็นอาหาร พวกมันไม่สามารถบินได้เพราะมันปีกเล็ก ขนาดตัวใหญ่ 3 เมตรและน้ำหนักถึงครึ่งตันเลยทีเดียว มันสามารถวิ่งเร็วได้ถึง 48 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ซึ่งนับว่าไวมาก
▶ Inspiration BY Casey neistat
============================
ข้อมูลสำหรับการติดตามผม
BLOGGER : https://goo.gl/NAexP1
YOUTUBE : https://goo.gl/90CLv4
FACEBOOK : https://goo.gl/XqffdR
INSTAGRAM : https://goo.gl/WVZo7t
Support subtitles : https://goo.gl/bt0pRS
==============================
จะพยายามทำคลิปออกมาเยอะๆ
ฝากกดติดตามด้วยนะครับบบ

10 สัตว์โลก ที่คุณควรดีใจที่มันสูญพันธุ์ไปแล้ว(สัตว์ดึกดำบรรพ์)

เพลงผ่อนคลายที่ดีที่สุดสำหรับแมว


ที่ดีที่สุดของการผ่อนคลายกับดนตรี, การนอนหลับลึกสำหรับการทำสมาธิและผ่อนคลายเพื่อบรรเทาและ Domir ทารกตั้งครรภ์ผ่อนคลายสำหรับเด็กในการทำงานมีสมาธิและจดจำนอกเหนือจากดนตรีคลาสสิกที่ดีที่สุดในการศึกษาหรืออ่าน, เพลงยุคเซนและใหม่และเสียงของ ธรรมชาติ (เช่นฝนตกคลื่นทะเลหรือเสียงของสปาน้ำ)
มิวสิควิดีโอการนอนหลับของเราได้รับโดยเฉพาะเตรียมที่จะช่วยผ่อนคลายร่างกายและจิตใจและ perfectamente เหมาะสำหรับผู้ใหญ่เด็กและทารกที่ต้องการเพลงที่เงียบสงบและผ่อนคลายที่จะช่วยให้พวกเขาตกลงกันได้รบการนอนหลับหรือนอนไม่หลับ ในแง่นี้มันสามารถมองเห็นเป็นรูปแบบของการทำสมาธิหรือการนอนหลับฝันสะกดจิตที่ช่วยให้เราเพื่อให้บรรลุการรักษาผลประโยชน์ของการนอนหลับที่
เพลงของวิดีโอเพลงของเราใช้ในการนอนหลับเสียงธรรมชาติของธรรมชาติที่จะปลูกฝังในการนอนหลับลึกและพักผ่อน กรอกจิตใจของคุณด้วยเพลงบรรเลงที่สวยงามของเราที่จะนอนหลับและได้รับสถานะของการพักผ่อนที่สุดของร่างกายและจิตใจ ไปกับเสียงเครื่องมือที่ทำให้คลื่นสมองของคุณสั่นโดยอัลฟาและเบต้าซีตา
มิวสิควิดีโอการนอนหลับของเรารวมถึงเพลงสำหรับทารกสำหรับเด็กสำหรับการตั้งครรภ์และทารกในครรภ์ หลายของพวกเขาจะขึ้นอยู่กับการปรับตัวผ่อนคลายชิ้นที่รู้จักกันของดนตรีคลาสสิกของเวลาทั้งหมด

เพลงผ่อนคลายที่ดีที่สุดสำหรับแมว

10 ไฟเตือนสำคัญ บนหน้าปัดรถยนต์ ที่ไม่ควรมองข้าม


ถ้าใครมีปัญหาเกี่ยวกับรถยนต์ พิมพ์ไว้ในช่องคอมเม้นท์ได้เลยนะครับ ผมจะพยายามตอบทุกคำถาม และจะพยามช่วยให้ได้มากที่สุดครับ
สรุปคำถามที่ผู้ชมส่วนใหญ่สงสัยคือ ถ้าไฟเตือนแสดงขึ้นก่อนสตาร์ทแล้วดับสนิทหลังสตาร์ทถือว่าปกติไหม คำตอบคือ ปกติครับ
ถ้าเจอไฟสัญลักษณ์ใดๆที่สงสัยนอกเหนือจากที่ผมทำไว้ในคลิปนี้ ส่งรูปมาที่ Facebook นี้ได้เลยครับ http://bit.ly/HowToGarageTalk
10 ไฟสัญญาณบนหน้าปัดรถยนต์ ที่ไม่ควรมองข้าม ซึ่งในคลิปนี้ เราจะมาคุยกันถึงเรื่องไฟเตือนสำคัญที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัย ที่เมื่อแสดงอยู่บนหน้าปัดรถแล้วเราไม่ควรขับรถต่อ ต้องหาที่จอดและแก้ไข หรือ รอความช่วยเหลือจากผู้เชี่ยวชาญ เรามาดูกันครับว่า 10 ไฟสัญลักษณ์สำคัญนี้ มีอะไรบ้าง
โดยไฟจะแบ่งออกเป็น 4 ประเภทหลักๆ ไฟสีแดง : ไฟเตือนที่มีความสำคัญสูง (ไม่ควรขับรถต่อ Warning Light), ไฟสีเหลือง : ไฟเตือนที่สำคัญรองลงมา (ให้ขับอย่างระมัดระวัง Caution Light), ไฟสีเขียว : ไฟบอกสถานะ (Status Light) และ ไฟสีน้ำเงิน : ไฟสูง (High Beam Light)
ในคลิปนี้ เราจะพูดถึง
0:00 00.แนะนำรายการ
0:17 0.ภาพรวมไฟเตือนในหน้าปัด
0:46 1.ไฟเตือนประตูปิดไม่สนิท
1:04 2.ไฟเตือนแรงดันน้ำมันเครื่องต่ำ
1:35 3.ไฟเตือนอุณหภูมิหม้อน้ำสูง
1:59 4.ไฟเตือนระบบชาร์จกระแสไฟฟ้า
2:45 5.ไฟเตือนระบบถุงลมนิรภัย AIRBAG
3:18 6.ไฟเตือนเบรกมือ หรือ น้ำมันเบรกต่ำ
3:42 7.ไฟเตือนระบบพวงมาลัย EPS
4:21 8.ไฟเตือนรูปเครื่อง ไฟเช็คเอ็นจิ้น CHECK ENGINE
5:01 9.ไฟเตือนระบบเบรก ABS
5:28 10.ไฟเตือนน้ำมันใกล้หมด
ถ้าใครเห็นไฟดังกล่าว ก็ไม่ต้องตกใจนะครับ ลองตรวจสอบกับคู่มือรถอีกครั้งนะครับ และถ้าหากไม่แน่ใจก็โทรปรึกษาศูนย์บริการก็ได้ครับ

แชร์ VDO คลิปนี้ : https://www.youtube.com/watch?v=ryBbZ67rZ6Q

และพบกับคลิปอื่นๆของ ฮาวทู รู้เรื่องรถ ได้ที่
https://www.youtube.com/channel/UC5WsJTzu5GomfrmJD7hPsMA
ติดตาม ฮาวทู รู้เรื่องรถได้ อีกช่องทางที่
Facebook : http://bit.ly/HowToGarageTalk

คลิปนี้ได้รับการสนับสนุนจาก ร้านซิมพลีคูล Simply Cool Shop
ํYouTube : https://www.youtube.com/c/simplycoolshopth
Facebook : https://www.facebook.com/simplycoolshop/
Web Site : http://www.simplycoolshop.com

ขอบคุณสำหรับการติดตามครับ

10 ไฟเตือนสำคัญ บนหน้าปัดรถยนต์ ที่ไม่ควรมองข้าม

【掌】五探养尸岛【ghost】 Five Explorations Corpse Island


本故事纯属虚构 。如有雷同纯属巧合
一切都只是拍微电影。世界上是不存在鬼神。请相信科学。千万别迷信。
Believe it or not 。Please believe in science, don’t be superstitious。Whether it’s true or not 。everyone should watch it as a horror movie 。Thank for support

【掌】五探养尸岛【ghost】 Five Explorations Corpse Island

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่LEARN FOREIGN LANGUAGE

ขอบคุณที่รับชมกระทู้ครับ สัญลักษณ์ ตกใจ

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *