Skip to content
Home » [NEW] รูปแบบจดหมายธุรกิจ (BUSINESS LETTER FORMAT) | รูปแบบของธุรกิจ – NATAVIGUIDES

[NEW] รูปแบบจดหมายธุรกิจ (BUSINESS LETTER FORMAT) | รูปแบบของธุรกิจ – NATAVIGUIDES

รูปแบบของธุรกิจ: นี่คือโพสต์ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อนี้

วันนี้ขอแนะนำ จดหมายลาออกจากงาน ภาษาอังกฤษพร้อมคำแปลภาษาไทย สาระสำคัญของจดหมายประเภทนี้คือ ต้องลงวันที่ให้ชัดเจนนะครับว่าลาออกเริ่มตั้งแต่วันไหน การเขียนจดหมายลาออก ควรเขียนในลักษณะสุภาพ ไม่มีการแทรกอารมณ์เสียเข้าไปในจดหมาย (แม้ว่าเรากำลังเสียใจหรือไม่พอใจอยู่ก็ตาม) ลองเอาตัวอย่างไม่ปรับใช้กันดูนะครับ ตัวอย่างที่ 1 (รูปแบบทั่วไปของจดหมาย) Your Name Your Address Your City, State, Zip Code Your Phone Number Your Email Date Name Title Organization Address City, State, Zip Code Dear Mr./Ms. Last Name: I regret to inform you that I am resigning from my position as Communications Assistance for the ABC Company. My last day of employment will be August 15, 2010. Thank you for the support and the opportunities that you have provided me during the last several years. I have enjoyed my tenure with the company. If I can be of any assistance during this transition, please let me know. I would be glad to help however I can. Sincerely, Your Signature

[Update] รูปแบบของการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ | รูปแบบของธุรกิจ – NATAVIGUIDES

guest

รูปแบบของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์

รูปแบบที่ 1: B-to-B (Business to Business) เป็นการค้าระหว่างองค์กร หรือบริษัท (ปริมาณขายต่อครั้งจะมาก)

รูปแบบที่ 2: B-to-C (Business to Consumer) เป็นการค้าจากองค์กร สู่ลูกค้าบุคคล (ค้าส่งขนาดย่อม ประมาณพอประมาณ)

รูปแบบที่ 3: C-to-C (Consumer to Consumer) เป็นการค้าระหว่างบุคคล ถึง บุคคล (ค้าปลีก ปกติปริมาณขายจะน้อย)

รูปแบบที่ 4: G-to-C (Government to Consumer) เป็นการค้าระหว่างภาครัฐ กับผู้บริโภค (การให้บริการประชาชน)

รูปแบบที่ 5: G-to-B (Government to Business) เป็นการค้าระหว่างภาครัฐ กับองค์กร (ปริมาณการค้ามาก)

ประเภทธุรกิจกับรัฐบาล (Business to Government หรือ B2G) คือ รูปแบบการจำหน่ายขั้นตอนในกระบวนการขาย

  1. การหาข้อมูลสินค้า

  2. การตรวจสอบราคา และคุณสมบัติของสินค้า

  3. การสั่งซื้อสินค้า

  4. การตรวจสอบยืนยันราคา และสินค้าคงคลัง

  5. การออกแบบใบสั่งซื้อ

  6. การกำหนดเวลาส่งสินค้า

  7. การออกใบเสร็จรับเงิน

  8. การส่งสินค้า

  9. ส่งใบเสร็จรับเงิน

  10. การชำระเงิน

ผลกระทบของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ต่อประเทศไทย

  1. เปลี่ยนโครงสร้างการค้ารูปแบบใหม่ไปสู่ระบบดิจิทอล

  2. ขาดแคลนแรงงานที่มีความรู้ความเข้าใจทางด้านเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์

  3. เสียเปรียบดุลการค้าต่างชาติที่พัฒนาทางเทคโนโลยีไปสูงกว่า

  4. ยังไม่มีกฏหมายที่ใช้บังคับการทำผิดบนอินเทอร์เน็ตโดยตรง หรือคุ้มครองข้อมูลการซื้อขายที่ชัดเจน

  5. การส่งเสริมจากรัฐบาลเรื่องโครงสร้างพื้นฐาน เป็นไปอย่างไม่เร่งร้อน

  6. ความไม่แน่ใจเรื่องความปลอดภัยของ e-commerce

รูปแบบของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์

  1. B to G (Business to Government)

  2. B to B (Business to Business)

  3. B to C (Business to Customer)

  4. C to C (Customer to Customer)

  5. G to C (Government to Customer)

องค์ประกอบของ e-Commerce

  1. ผู้ซื้อ (Customer)

  2. ผู้ขาย (Warehouse หรือ โกดังสินค้า)

  3. ระบบชำระเงิน (Banking)

  4. ระบบขนส่ง (Shipping)

 

 


รูปแบบของธุรกิจ


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

รูปแบบของธุรกิจ

ธุรกิจคืออะไร..?


สมาชิก: คาปูชิโน่หวานน้อย
นายพีระกานต์ ชินวุฒิพงศ์ชัย
นายกรสิงห์ ไตรพิพัฒนพงษ์
นายนรินทร์ ศรีสุภา
นายอธิวัฒน์ เวชกรบริรักษ์
นายปรานต์เพชร โพธิ์ประสาท
นายกฤษณัฏฐ์ โรจนบุรานนท์

ธุรกิจคืออะไร..?

ประโยชน์การบันทึกรายรับ – รายจ่าย


ประโยชน์การบันทึกรายรับ - รายจ่าย

รูปแบบของธุรกิจ


ขอบคุณครับ (:

รูปแบบของธุรกิจ

บทที่ 2 รูปแบบของธุรกิจ


บทที่ 2 รูปแบบของธุรกิจ

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่LEARN TO MAKE A WEBSITE

ขอบคุณมากสำหรับการดูหัวข้อโพสต์ รูปแบบของธุรกิจ

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *