Skip to content
Home » [NEW] รับเงินชดเชย “ประกันสังคม” ทั้ง 7 กรณี ผ่านระบบออนไลน์ได้แล้ว! | ประกัน สังคม กรณี เจ็บป่วย – NATAVIGUIDES

[NEW] รับเงินชดเชย “ประกันสังคม” ทั้ง 7 กรณี ผ่านระบบออนไลน์ได้แล้ว! | ประกัน สังคม กรณี เจ็บป่วย – NATAVIGUIDES

ประกัน สังคม กรณี เจ็บป่วย: นี่คือโพสต์ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อนี้

เรื่องโดย

mildpapa

Let me take you to the place, and let me make your day.

[NEW] เรื่องควรรู้! สิทธิประโยชน์ประกันสังคมมาตรา 40 | ประกัน สังคม กรณี เจ็บป่วย – NATAVIGUIDES

Log in with your credentials

Remember me
Lost your password?


Ep.11 | การลาป่วย สิทธิที่ลูกจ้างควรรู้ ตามกฎหมายแรงงาน | by HR_พี่โล่


คู่มือมนุษย์เงินเดือน Ep.11| สิทธิการลาป่วย ที่ลูกจ้างควรรู้ ตามกฎหมายแรงงาน by HR_พี่โล่
กฎหมายระบุว่าลูกจ้างสามารถลาป่วยได้เท่าที่ป่วยจริงโดยนายจ้างจ่ายค่าจ้างไม่เกิน 30 วันทำงานต่อปี
การลาป่วย 3 วันทำงานขึ้นไปนายจ้างอาจขอใบรับรองแพทย์ได้
กรณีลาป่วยวันเดียวไม่ได้กำหนดต้องขอใบรับรองแพทย์ค่ะ
สิทธิการลาป่วย กฎหมายแรงงาน คู่มือมนุษย์เงินเดือน

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

Ep.11 | การลาป่วย สิทธิที่ลูกจ้างควรรู้ ตามกฎหมายแรงงาน | by HR_พี่โล่

ประกันสังคมชี้เจ็บป่วยฉุกเฉินเข้าได้ทุกโรงพยาบาลที่ใกล้สุด – สถานีเดลินิวส์


สำนักงานประกันสังคม ชี้ชัดผู้ประกันตน ม. 33 และ ม. 39 หากเจ็บป่วยฉุกเฉินเข้ารักษาได้ทุกโรงพยาบาลที่ใกล้สุด ระยะเวลา 72 ชม. จนพ้นภาวะวิกฤต

ประกันสังคมชี้เจ็บป่วยฉุกเฉินเข้าได้ทุกโรงพยาบาลที่ใกล้สุด  -  สถานีเดลินิวส์

เปรียบเทียบกรณีเจ็บป่วยประกันสังคม 3 มาตรา


ผู้ประกันตนแต่ละประเภทมีสถานะที่ต่างกัน และการจ่ายเงินสมทบที่ต่างกัน
จึงทำให้การได้รับสิทธิประโยชน์อาจมีความแตกต่าง หรือบางกรณีก็อาจจะเหมือนกันภายใต้หลักการเฉลี่ยทุกข์เฉลี่ยสุข
============
บท/บรรยาย : ศราวุธ ชัยดี

เปรียบเทียบกรณีเจ็บป่วยประกันสังคม 3 มาตรา

ประกันสังคมมาตรา 40 ให้อะไรเราบ้าง กรณีเจ็บป่วย?/Nathamon channel


ผู้ประกันตนตามมาตรา 40 กรณีเจ็บป่วย จะได้รับเงินชดเชยการขาดรายได้ เมื่อจ่ายเงินสมทบมาแล้ว 3 เดือน ใน 4 เดือน ก่อนเดือนที่ประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย ส่วนจำนวนเงินชดเชยการขาดรายได้นั้น ประกันสังคมได้กำหนดไว้ ดังนี้
_เมื่อผู้ประกันตนประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย หลังจากได้รับการตรวจรักษา ข้อที่ (1) แพทย์พิจารณาให้
นอนโรงพยาบาลตั้งแต่ 1 วันขึ้นไป ท่านก็จะได้รับเงินชดเชยการขาดรายได้ วันละ 300 บาท
ข้อที่ (2) ไม่ได้นอนโรงพยาบาล แต่แพทย์มีความเห็นให้หยุดพักรักษาตัว ตั้งแต่ 3 วันขึ้นไป จะได้รับเงิน
ชดเชยการขาดรายได้ วันละ 200 บาท และข้อที่ (3) ไปพบแพทย์เพื่อรับการตรวจที่แผนกผู้ป่วยนอก และ
แพทย์มีความเห็นให้หยุดพักรักษาตัวไม่เกิน 2 วัน จะได้รับเงินชดเชยการขาดรายได้ ครั้งละ 50 บาท
3. การรับสิทธิประโยชน์นั้นนะคะ ผู้ประกันตนตามทางเลือกที่ 1 ซึ่งจ่ายเงินสมทบ 70 บาทต่อเดือน และทาง
เลือกที่ 2 ซึ่งจ่ายเงินสมทบ 100 บาทต่อเดือน มีสิทธิที่จะได้รับสิทธิประโยชน์ตามข้อ (1) และ (2) ที่นับ
รวมกันแล้ว ไม่เกิน 30 วันต่อปี ส่วนข้อ (3) มีสิทธิที่จะได้รับสิทธิประโยชน์ ไม่เกิน 3 ครั้งต่อปีนะคะ
_ สำหรับผู้ประกันตนตามทางเลือกที่ 3 ซึ่งจ่ายเงินสมทบ 300 บาทต่อเดือน ก็มีสิทธิที่จะได้รับเฉพาะสิทธิ
ประโยชน์ตามข้อ (1) และ (2) ที่นับรวมกันแล้ว ไม่เกิน 90 วันต่อปี ส่วนสิทธิประโยชน์ตามข้อ (3) ทาง
เลือกนี้จะไม่ได้ให้ความคุ้มครองไว้
4. ค่ารักษาพยาบาลที่เกิดขึ้น จะทำอย่างไร ใครเป็นคนจ่าย
เนื่องจากค่าใช้จ่ายในส่วนนี้ สำนักงานประกันสังคมไม่ได้ให้ความคุ้มครองไว้ ดังนั้นผู้ประกันตนใน
มาตรา 40 จึงสามารถใช้สิทธิในเรื่องค่ารักษาพยาบาลตามสิทธิที่ตนเองมีได้ ตัวอย่าง เช่น
ผู้ประกันตนตามมาตรา 40 มีสิทธิบัตรทองก็ใช้สิทธิบัตรทองในส่วนของค่ารักษาพยาบาล หรือ
ผู้ประกันตนตามมาตรา 40 มีสิทธิเบิกจ่ายตรงจากกรมบัญชีกลางก็ใช้สิทธิเบิกจ่ายตรงจากกรมบัญชีกลางได้
ประกันสังคมมาตรา40เงินชดเชยการขาดรายได้กรณีเจ็บป่วย

ประกันสังคมมาตรา 40 ให้อะไรเราบ้าง กรณีเจ็บป่วย?/Nathamon channel

#ประกันสังคม# สิทธิประโยชน์ เจ็บป่วย อุบัติเหตุ ทุพพลภาพ คลอดบุตร และตาย สำนักงานประกันสังคม


ความรู้ทั่วไปของคนทำงานด้านบุคคล หรือ HR
สิทธิประโยชน์ เจ็บป่วย อุบัติเหตุ ทุพพลภาพ คลอดบุตร และตาย สำนักงานประกันสังคม 4 กรณีพื้นฐานที่พนักงานต้องรู้ เป็นพื้นฐานที่ต้องรู้

#ประกันสังคม# สิทธิประโยชน์ เจ็บป่วย อุบัติเหตุ  ทุพพลภาพ คลอดบุตร และตาย สำนักงานประกันสังคม

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่LEARN TO MAKE A WEBSITE

ขอบคุณที่รับชมกระทู้ครับ ประกัน สังคม กรณี เจ็บป่วย

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *