Skip to content
Home » [NEW] ค่าไฟฟ้าหน่วยละกี่บาท และมีวิธีคำนวณค่าไฟฟ้าอย่างไร | วิธีคิดภาษีมูลค่าเพิ่ม – NATAVIGUIDES

[NEW] ค่าไฟฟ้าหน่วยละกี่บาท และมีวิธีคำนวณค่าไฟฟ้าอย่างไร | วิธีคิดภาษีมูลค่าเพิ่ม – NATAVIGUIDES

วิธีคิดภาษีมูลค่าเพิ่ม: นี่คือโพสต์ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อนี้

หลายคนอาจยังไม่เข้าใจว่าในปัจจุบันนี้การไฟฟ้านั้นมีหลักเกณฑ์อย่างไรในการคิดค่าไฟฟ้ากับผู้ใช้ ซึ่งเรื่องนี้ก็เป็นอีกเรื่องหนึ่งที่ผู้ใช้ไฟฟ้าต้องทำความเข้าใจให้ละเอียด เนื่องจากการคำนวณค่าไฟฟ้านั้นทางการไฟฟ้ามีหลายสูตรคำนวณที่แตกต่างกันไปตามประเภทของผู้ใช้ ในบทความนี้มาศึกษากันว่ารายละเอียดต่างๆ ของค่าใช้จ่ายในการใช้ไฟฟ้านั้นมีอะไรบ้าง รวมไปถึงการคำนวณค่าไฟฟ้านั้นคำนวณอย่างไร ค่าไฟหน่วยละกี่บาทกันแน่

Table of Contents

1. ผู้ให้บริการไฟฟ้าในประเทศไทยคือใคร

เราทุกคนต่างเข้าใจกันว่าผู้ให้บริการไฟฟ้าแก่ทุกครัวเรือน และทุกกิจการในประเทศไทยนั้นคือการไฟฟ้า แต่ในความเป็นจริงทาด้านการบริหารแล้วการไฟฟ้ามี 3 บริษัทที่ให้บริการในประเทศไทย คือการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยที่ทำหน้าผลิตไฟฟ้าป้อนเข้าสู่ระบบเพียงอย่างเดียว, การไฟฟ้านครหลวง เป็นบริษัทที่ทำหน้าที่จำหน่ายไฟฟ้าให้กับพื้นที่ กรุงเทพมหานคร, สมุทรปราการ, นนทบุรี บริษัทสุดท้ายคือการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ซึ่งมีหน้าที่จำหน่ายไฟฟ้าให้กับพื้นที่อื่นๆ ยอกเว้นที่ของการไฟฟ้านครหลวง

2. การไฟฟ้าฯ คิดค่าไฟอย่างไร

การคิดคำนวณค่าไฟฟ้านั้นมีหลักเกณฑ์ต่างๆ ที่ค่อนข้างเยอะพอสมควร ค่าไฟฟ้าต่อหน่วยไม่ได้มีราคาเท่ากันทุกบ้าน เพราะค่าไฟฟ้าต่อหน่วยจะคิดตามประเภทของการใช้งาน ได้แก่ บ้านเรือนที่พักอาศัย, กิจการขนาดเล็ก, กิจการขนาดกลาง, กิจการขนาดใหญ่, กิจการเฉพาะอย่าง, องค์กรไม่แสวงหาผลกำไร, กิจการเพื่อการสูบน้ำเพื่อการเกษตร และผู้ใช้ไฟฟ้าชั่วคราว ซึ่งทั้งหมดนี้มีวิธีการคิดค่าไฟต่อหน่วยที่แตกต่างกัน 

3. ค่าไฟฟ้าหน่วยละกี่บาท

อย่างที่ได้กล่าวไปแล้วว่าการไฟฟ้านั้นมีวิธีคิดค่าไฟฟ้าต่อหน่วยที่แตกต่างกันไปตามรูปแบบของการใช้งาน ลองมาดูกันว่าถ้าเป็นบ้านพักอาศัยธรรมดาทีจัดว่าเป็นการใช้ไฟฟ้าประเภทที่ 1 นั้นการไฟฟ้าฯ จะคิดค่าไฟหน่วยละกี่บาท 
 การคิดค่าไฟฟ้าสำหรับผู้ใช้ไฟฟ้าประเภทที่ 1 มีการคิดค่าไฟฟ้าต่อหน่วยได้ 3 แบบตามปริมาณ และรูปแบบของการใช้ไฟฟ้า หรือที่เรียกว่าการคิดค่าไฟอัตราปกติแบบก้าวหน้า ได้แก่

  • อัตราค่าไฟบ้านอยู่อาศัยประเภทที่ 1 คือ บ้านอยู่อาศัยที่ใช้ไฟไม่เกิน 150 หน่วยต่อเดือน เริ่มต้นที่หน่วยละ 2.3488 บาท ถึง หน่วยละ 4.4217 บาท (ค่าบริการ 8.19 บาท/เดือน)
  • อัตราค่าไฟบ้านอยู่อาศัยประเภทที่ 2 คือ บ้านอยู่อาศัยที่ใช้ไฟเกิน 150 หน่วยต่อเดือน เริ่มต้นที่หน่วยละ 3.2484 บาท ถึง หน่วยละ 4.4217 บาท (ค่าบริการ 38.22 บาท/เดือน)
  • อัตราค่าไฟบ้านอยู่อาศัยประเภทที่ 3 หรือ TOU คือ บ้านอยู่อาศัยที่ขอติดตั้งมิเตอร์แบบคิดค่าไฟตามช่วงเวลาของการใช้งาน ในช่วง Peak หรือ Off Peak เริ่มต้นที่หน่วยละ 2.6037 บาท ถึง หน่วยละ 5.7982 บาท (ค่าบริการ 38.22 หรือ 312.24 บาท/เดือน)

4. การคิดค่าไฟฟ้าอัตราปกติแบบก้าวหน้าคืออะไร

การคิดค่าไฟในรูปแบบอัตราก้าวหน้าคือการคิดค่าตามปริมาณการใช้งานนั่นเอง ซึ่งเป็นวิธีการที่การไฟฟ้าฯ ใช้มาตลอด โดยเป็นการคิดแบบขั้นบันไดโดยแต่ละขั้นก็มีราคาของค่าไฟฟ้าต่อหน่วยที่แตกต่างกันไป ถ้าใช้ไฟมากก็จะถูกคิดคิดราคาแพงขึ้นนั่นเอง ยกตัวอย่างเช่น 
ถ้าเป็นที่พักอาศัยตามปกติ มีการใช้ไฟไม่เกิน 150 หน่วยต่อเดือน จะคิดค่าไฟฟ้าตามอัตราก้าวหน้าดังนี้  
15 หน่วยแรก (หน่วยที่ 1-15) หน่วยละ 2.3488 บาท

  • 10 หน่วยถัดไป (หน่วยที่ 16-25)  หน่วยละ 2.9882 บาท
  • 10 หน่วยถัดไป (หน่วยที่ 26-35)  หน่วยละ  3.2405 บาท
  • 65 หน่วยถัดไป (หน่วยที่ 36-100)  หน่วยละ  3.6237 บาท
  • 50 หน่วยถัดไป (หน่วยที่ 101-150)  หน่วยละ  3.7171 บาท
    ถ้ามีการใช้ไฟฟ้าเกิน 150 หน่วยต่อเดือนจะมีอัตราการคิดค่าไฟฟ้าแบบก้าวหน้าดังนี้
  • 150 หน่วยแรก (หน่วยที่ 1-150) หน่วยละ  3.2484 บาท
  • 250 หน่วยถัดไป (หน่วยที่ 151-400) หน่วยละ  4.2218 บาท
  • หน่วยที่ 401 เป็นต้นไป ราคาหน่วยละ  4.4217 บาท

จากอัตราการคิดคำนวณแบบนี้จะเห็นได้อย่างชัดเจนมาว่ายิ่งใช้ไฟฟ้ามากเท่าไหร่ค่าไฟฟ้าก็จะถูกคำนวณในแบบก้าวหน้า ทำให้ต้องจ่ายค่าไฟต่อหน่วยแพงขึ้น จนหลายๆ คนตกใจว่าทำไมค่าไฟในบางเดือนถึงได้แพงมากกว่าปกติ ซึ่งก็เป็นเรื่องของการใช้ไฟฟ้าที่เพิ่มมากขึ้น และวิธีการคำนวณค่าไฟฟ้าแบบก้าวหน้านั่นเอง 

5. ค่า FT คืออะไร

ในการคำนวณค่าไฟฟ้าของการไฟฟ้านั้นนอกจากค่าไฟฟ้าต่อหน่วย ค่าบริการ และภาษีมูลค่าเพิ่มแล้ว ยังมีกรนำค่า FT หรือ Fuel Adjustment Charge (at the given time) ซึ่งเป็นต้นทุนค่าเชื้อเพลิงที่ใช้ในการผลิตไฟฟ้าของการไฟฟ้าฝ่ายผลิต และค่าซื้อไฟฟ้าจากผู้ผลิตเอกชน และประเทศเพื่อนบ้าน ซึ่งปัจจัยเหล่านี้เป็นปัจจัยที่การไฟฟ้าฝ่ายผลิตไม่สามารถควบคุมได้ โดยค่า FT จะมีการเปลี่ยนแปลงทุก 4 เดือน ซึ่งจะมากขึ้น หรือน้อยลงก็เป็นไปตามตัวแปรต่างๆ นั่นเอง

6. การคำนวณค่าไฟด้วยตัวเอง

การคำนวณค่าไฟฟ้านั้นสามารถทำได้ด้วยตัวเอง เพียงแค่ทำความเข้าใจถึงอัตราการคิดค่าไฟฟ้าต่อหน่วย ค่าบริการต่างๆ ค่า FT และภาษีมูลค่าเพิ่ม โดยสามารถคำนวณได้ดังนี้ 
คิดค่าไฟฟ้าพื้นฐานก่อน 
ถ้าในระยะเวลา 1 เดือนภายในบ้านมีการใช้ไฟฟ้า 100 หน่วยพอดี การตำนวณเฉพาะค่าไฟฟ้าสามารถทำได้ดังนี้ 

  • หน่วยที่ 1-15 หน่วยละ 2.3488 บาท คือ 15 x 2.3488 = 35.23 บาท
  • หน่วยที่ 16-25 หน่วยละ 2.9882 บาท คือ 10 x 2.9882 = 29.88 บาท
  • หน่วยที่ 26-35 หน่วยละ  3.2405 บาท คือ 10 x 3.2405 = 32.41 บาท
  • หน่วยที่ 36-100 หน่วยละ  3.6237 บาท คือ65 x 3.6237 = 235.54 บาท

รวมค่าไฟฟ้า 100 หน่วย 333.06 บาท + ค่าบริการ 8.19 บาท = 341.25 บาท 

  • คิดค่า FT 

ในตอนนี้ค่า FT อยู่ที่ 11.60 บาท ซึ่งถูกตรึงไว้ตามนโยบายของคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน (กกพ.) ทำให้การคิดค่า FT สำหรับอัตราค่าไฟฟ้าพื้นฐานคือ นำค่าไฟฟ้าพื้นฐานที่คำนวณได้มาลบออกด้วยค่า FT ถ้าตามตัวอย่างค่าไฟฟ้าพื้นฐานคือ 341.25 ลบออกด้วยค่า FT คือ 11.60 ทำให้ค่าไฟฟ้าก่อนรวมภาษีมูลค่าเพิ่มคือ 329.65 บาท 

  • คิดภาษีมูลค่าเพิ่ม 

ในประเทศไทยนั้นทุกสินค้า และบริการจะถูกคิดภาษีมูลค่าเพิ่มที่ 7% รวมไปถึงค่าไฟฟ้าด้วย ดังนั้นเมื่อคิดอัตราค่าไฟฟ้าพื้นฐาน และค่า FT เรียบร้อยแล้ว ต้องมาคำนวณภาษีมูลค่าเพิ่มอีก 7% สำหรับค่าไฟฟ้าตามตัวอย่างที่คำนวณไว้คือ ค่าไฟฟ้าพื้นฐาน และค่า FT คือ 329.65 บาท ต้องนำมารวมกับภาษีมูลค่าเพิ่มอีก 7% คือ 23.08 บาท ดังนั้นค่าไฟฟ้าที่จะต้องจ่ายจริงคือ 352.73 บาทนั่นเอง หรือถ้าต้องการคำนวณให้ง่ายมากกว่านี้สามารถเข้าไปที่ Website ของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค หรือการไฟฟ้านครหลวงก็ได้ จะมีตารางให้ลองคำนวณค่าไฟฟ้าด้วยตัวเอง

7. ทำไมฤดูร้อนค่าไฟฟ้าแพง

แทบทุกครั้งที่ฤดูร้อนของประเทศไทยวนกลับมาถึงจะได้ยินเสียงบ่นว่าค่าไฟฟ้าแพงขึ้นอย่างเห็นได้ชัด ซึ่งเป็นเรื่องที่สามารถทำความเข้าใจได้แบบง่ายๆ คือด้วยอุณหภูมิที่ร้อนจัดสำหรับฤดูร้อนในประเทศไทยทำให้เครื่องใช้ไฟฟ้าหลายชนิดต้อทำงานหนักขึ้น ทำมีปริมาณในการใช้กระแสไฟฟ้ามากขึ้น รวมถึงพฤติกรรมในการใช้ไฟฟ้าสำหรับหน้าร้อนไม่ว่าจะเป็นการเปิดเครื่องปรับอากาศนานขึ้น การเปิด – ปิดตู้เย็นบ่อยขึ้น และเมื่อรวมกับการคิดค่าไฟฟ้าในอัตราก้าวหน้า จึงทำให้มีค่าใช้ไฟฟ้าที่แพงขึ้นนั่นเอง 

จากบทความนี้จะเห็นได้ว่าการคำนวณค่าไฟฟ้าสำหรับบ้านพักอาศัยนั้นไม่ใช่เรื่องยาก หากผู้อยู่อาศัยเกิดความสงสัยในการคำนวณและอยากรู้ว่า ค่าไฟฟ้าหน่วยละกี่บาท สามารถตรวจสอบรายละเอียดกับการไฟฟ้าในพื้นที่ได้ เนื่องจากมีสูตรการคำนวณค่าไฟฟ้าที่ขัดเจนทุกขั้นตอน ดังนั้น การที่ค่าไฟฟ้าในบางเดือนเพิ่มสูงขึ้น ให้ดูที่พฤติกรรมการใช้ไฟฟ้าภายในบ้านก่อน เพราะอาจมีการใช้ไฟฟ้ามากกว่าปกติโดยไม่รู้ตัว อย่างไรก็ตาม หากคิดว่าค่าไฟฟ้ามีความผิดปกติจริง สามารถติดต่อการไฟฟ้าที่ดูแลพื้นที่เพื่อสอบถามความชัดเจนได้โดยตรง

[NEW] | วิธีคิดภาษีมูลค่าเพิ่ม – NATAVIGUIDES

ABOUT US

Cargo Pacific Oversea Co., Ltd. start to operate on 1 May 2000. We strongly believe in our potential as have had an experience on an international logistic field for over 19 years. Our company is expertise in a wide range of services including Ocean freight, Air freight Custom clearance, Trucking, Warehousing and Cross border.


วิธีคิดราคาก่อนภาษี แบบแยกนอก รวมใน ภาษีมูลค่าเพิ่ม VAT 7% คนทำ E-Commerce ควรรู้ไว้


Vat หรือ ภาษีมูลค่าเพิ่ม คืออะไร ในการซื้อของแต่ละครั้งเคยสังเกตุกันบ้างมั้ยว่าราคาของจริงๆมันเท่าไรกันแน่เราเงินส่วนที่เราเสียเพิ่มไปนั้นมันคืออะไร และในส่วนของผู้ประกอบการเองที่ต้องเสียภาษีให้กับทางรัฐบาลเราจะต้องไปหาเงินตรงไหนมาให้กับรัฐบาล ภาษี ECommerce

รวมโปรแกรมคำนวณ : https://www.mindphp.com/onlinetools/mindphptools.html
โปรแกรมคำนวณราคาก่อนบวก vat 7%
https://www.mindphp.com/tools/vat/vat.php
โปรแกรมคำนวณภาษีมูลค่าเพิ่มหลังรวม VAT
https://www.mindphp.com/tools/tool_include_vat/index.php
By: https://www.mindphp.com/

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

วิธีคิดราคาก่อนภาษี แบบแยกนอก รวมใน ภาษีมูลค่าเพิ่ม VAT 7% คนทำ E-Commerce ควรรู้ไว้

[Q\u0026A] วิธีคำนวณภาษีหัก ณ ที่จ่าย พร้อมกับ ภาษีมูลค่าเพิ่ม (มีตัวอย่าง+แจกไฟล์ฟรี)


ช่วงวิกฤตแบบนี้ หลายคนมีปัญหา เรื่องคิดราคาลูกค้าผิดๆถูกๆ ไม่ว่าจะเป็น…
ต้องรวม VAT ไหม
ต้องหัก ณ ที่จ่ายหรือเปล่า
รวมทั้ง VAT และ หักภาษีด้วย
โอ้ยยยงงง พรี่หนอมเลยเอาไฟล์มาฝากกัน จะได้ไม่คิดเงินลูกค้าผิดพลาด เดี๋ยวจะมีปัญหาการเงินเพิ่มขึ้นมาอีกต่างหากจ้า
ดาวน์โหลดไฟล์ประกอบได้ที่นี่จ้า
https://bit.ly/WTCALBYTAXBUGNOMS
วิธีคำนวณ ภาษีหักณที่จ่าย และ ภาษีมูลค่าเพิ่ม ดูวิธีการได้จากคลิปวีดีโอนี้เลยจ้า หรือว่า จะอ่านคำอธิบายจาก ตัวอย่างก็ได้นะ
อย่างบริษัทน้องคนนี้มีรายได้ 60,000 บาท ถ้าหากถูกหักภาษีไว้ 3% น้องจะได้เงิน 58,200 บาท ถูกหักภาษีไว้ 1,800 บาท แต่แปลว่าน้องมีรายได้ต้องเสียภาษี คือ 60,000 บาทนะ และถ้าหากบริษัทน้องจด VAT ยอด 7% ของ VAT ก็ต้องคิดจากยอด 60,000 บาทด้วย
ทีนี้บางทีน้องอยากได้ยอดเต็ม 60,000 บาท ถ้าคนจ่ายเขาจะหักอยู่ เค้าก็ต้องคำนวณย้อนกลับเป็นว่า ยอด 60,000 บาทคือยอดหลังหักภาษีแล้ว ดังนั้นยอดก่อนหักภาษีก็ต้องเป็น 61,855.67 บาท และถูกหักภาษีไว้ 1,855.67 บาทเลยทำให้ได้เงิน 60,000 บาทถ้วนนั่นเอง และถ้าบริษัทน้องจด VAT ยอด 7% ก็ต้องคิดจากยอดก่อนหักภาษี คือ 61,855.67 บาท
ฝากติดตามรายการ คุยภาษีหนีเคอร์ฟิว ได้เลยจ้า
กด Subscribed เป็นกำลังใจให้กันด้วยนะจ๊ะ
ติดตามช่องทางอืนๆของพรี่หนอมได้ที่
FB : http://www.FB.com/TAXBugnoms
Twitter : https://twitter.com/TAXBugnoms
Podcast : http://taxbugnoms.podbean.com/

[Q\u0026A] วิธีคำนวณภาษีหัก ณ ที่จ่าย พร้อมกับ ภาษีมูลค่าเพิ่ม (มีตัวอย่าง+แจกไฟล์ฟรี)

การคำนวณภาษีมูลค่าเพิ่ม อย่างเข้าใจง่าย : VATงัยจะอะไรล่ะ : เรียนบัญชีกับครูริชาร์ด


การคำนวณภาษีมูลค่าเพิ่ม อย่างเข้าใจง่าย : VATงัยจะอะไรล่ะ : เรียนบัญชีกับครูริชาร์ด

การตั้งค่าเครื่องคิดเลขคำนวณภาษีมูลค่าเพิ่ม


การตั้งค่าเครื่องคิดเลขคำนวณvat

การตั้งค่าเครื่องคิดเลขคำนวณภาษีมูลค่าเพิ่ม

วิธีคิดภาษีมูลเพิ่ม 7% Vat นอก – Vat ใน Microsoft Excel


ธีการคำนวณ vat (แวต)
การคำนวณแวตมีสองแบบ คือ แบบแวตนอก และแบบแวตใน โดยคำนวณให้ราคาสินค้าที่รวม VAT มีค่าเท่ากับ 107% หลังจากนั้นให้แยกราคาสินค้า และ VAT ออกจากกัน โดยให้ราคาสินค้าเท่ากับ 100% และ คำนวณให้ภาษีมูลค่าเพิ่มมีค่าเท่ากับ 7%

ตัวอย่าง สูตรการคิด
vat (แวต) ใน ซื้อของ 1,000 บาท
วิธีการคิด 1,000100/107 = ของราคา 934.58 และ vat 65.42

vat (แวต) นอก ซื้อของ 1,000 บาท
วิธีการคิด 1,0007/100 = 1,070

วิธีคิดภาษีมูลเพิ่ม 7%   Vat นอก - Vat ใน   Microsoft Excel

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆLEARN TO MAKE A WEBSITE

ขอบคุณที่รับชมกระทู้ครับ วิธีคิดภาษีมูลค่าเพิ่ม

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *