Skip to content
Home » รำลึกพระบิดาแห่งการลูกเสือไทย | กํา เนิ ด ลูกเสือ ไทย | เรียนรู้การออกแบบออนไลน์ฟรี

รำลึกพระบิดาแห่งการลูกเสือไทย | กํา เนิ ด ลูกเสือ ไทย | เรียนรู้การออกแบบออนไลน์ฟรี

รำลึกพระบิดาแห่งการลูกเสือไทย|การออกแบบการศึกษาด้วยตนเองทางออนไลน์ที่บ้าน.

[button color=”primary” size=”small” link=”#” icon=”” target=”false” nofollow=”false”]ชมวิดีโอด้านล่าง[/button]

สามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์เพิ่มเติมได้ที่นี่: ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่นี่

รูปภาพที่เกี่ยวข้องกับหมวดหมู่ รำลึกพระบิดาแห่งการลูกเสือไทย.

รำลึกพระบิดาแห่งการลูกเสือไทย

รำลึกพระบิดาแห่งการลูกเสือไทย


ที่เกี่ยวข้องกับหมวดหมู่ กํา เนิ ด ลูกเสือ ไทย

รำลึกถึงบิดาลูกเสือไทย เรื่อง “ลูกเสือแห่งชาติ” . จุดเริ่มต้นของการสอดแนมในประเทศไทยเริ่มต้นขึ้น เมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้จัดตั้งหน่วยลูกเสือ เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2454 แต่ทุกท่านทราบประวัติวันลูกเสือแห่งชาติหรือไม่? นั่นคือวันลูกเสือแห่งชาติ รับชมพร้อมกันครับ . #เอ๋_ยุพาวรรณ #เขียนโดย _ยุพาวรรณ_ทรงเมือง กรรมการผู้จัดการใหญ่ #ตัดต่อภาพก่อน_ที่_ทั้งหมด . . ติดตามคลิปสาระน่ารู้และเทคนิคต่างๆ ทั้งในแง่ของการจัดงานอีเวนต์และสื่อต่างๆ ได้ทุกวันอังคารและวันศุกร์ที่หน้าเพจ First News Partnership ^^ . ติดต่อได้ที่ Line ID : first_at_all หรือโทรเลย ☎ 044-289183 / มือถือ 081-7187406 หน้าหลัก Youtube channel : First At All . #ข่าวแรก #สื่อโฆษณา #งานพิมพ์อเนกประสงค์ #งานอีเวนท์ #จัดงาน #จัดงาน #โชว์ #ออกบูธ #เวที #แสงสีเสียง #กีฬาวิทยุ #มัลติมีเดีย #จัดงานวางแผนงาน #งานครบวงจร #งานพระราชพิธี #งานทุกประเภท #ทั่วประเทศ

>>Nataviguides เราหวังว่าข้อมูลนี้จะมีคุณค่าอย่างยิ่งสำหรับคุณ ขอบคุณมากที่รับชม.

คำหลักเกี่ยวข้องกับเนื้อหากํา เนิ ด ลูกเสือ ไทย.

#รำลกพระบดาแหงการลกเสอไทย

[vid_tags]

รำลึกพระบิดาแห่งการลูกเสือไทย

กํา เนิ ด ลูกเสือ ไทย.

10 thoughts on “รำลึกพระบิดาแห่งการลูกเสือไทย | กํา เนิ ด ลูกเสือ ไทย | เรียนรู้การออกแบบออนไลน์ฟรี”

  1. คติพจน์ของลูกเสือโดยทั่วไปมี 2 อย่าง  คือ
           1.  คติพจน์ทั่วไป 
                    คติพจน์ทั่วไปของลูกเสือไทยนั้น  พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชทานให้ว่า  "เสียชีพ  อย่าเสียสัตย์"  ซึ่งมีความหมายว่า  ลูกเสือจะต้องรักษาคุณความดี  และคำปฏิญาณที่ได้ให้ไว้ดุจชีวิต
           2.  คติพจน์ของลูกเสือ (สามัญ)
                    คติพจน์ของลูกเสือสามัญ  "จงเตรียมพร้อม"  มีผู้ถามบี.พี.ว่า  "จงเตรียมพร้อม"  (Be Prepared)  สำหรับอะไร  บี.พี.ตอบว่า  "เตรียมพร้อม  สำหรับทุกสิ่ง"  คติพจน์ของลูกเสือข้อนี้  หมายความว่า  ลูกเสือต้องอยู่ในสภาพพร้อมทั้งด้านร่างกายและจิตใจ  เพื่อปฏิบัติหน้าที่ของตนเองและพร้อมที่จะช่วยเหลือผู้อื่นเมื่อจำเป็น

  2. “…การฝึกหัดให้เด็กรู้จักยอมเสียสละ เพื่อประโยชน์ของเพื่อนร่วมชาติ เป็นของดีที่เปรียบได้โดยยาก ผู้ที่รู้จักร้องทวงเอาสิทธิ์และสงวนสิทธิ์ของตนนั้นมีถมไป แต่ผู้ที่รู้จักสิ่งซึ่งเป็นกรณียะอันตนควรกระทำนั้นหาได้ยากนัก การยอมเสียสละทรัพย์หรือเวลา โดยมุ่งได้รับสิ่งตอบแทนโดยตรงแก่ตนโดยจำเพาะ ไม่เรียกว่าประกอบกรณียะ ต่อเมื่อยอมสละทรัพย์และเวลาและอวัยวะโดยเห็นแก่กรณียะยิ่งกว่าเห็นแก่ลาภสักการะนั้น จึงควรแก่การสรรเสริญ…”

    ความตอนหนึ่งในพระราชหัตถเลขา พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ ๒๗ สิงหาคม ๒๔๖๖ สะท้อนให้เห็นถึงพระราชดำริที่ทรงให้ความสำคัญต่อการอบรมบ่มเพาะอุปนิสัยของเด็กและเยาวชน ให้เป็นพลเมืองดี รักและมุ่งประโยชน์ชาติยิ่งกว่าประโยชน์ตน โดยทรงเชื่อว่าการที่ชาติใดจะมีอำนาจหรือเกียรติได้นั้น มิใช่มีคนมากหรือน้อย ข้อสำคัญอยู่ที่ความประพฤติ และนิสัยใจคอของคนในชาติ

    ด้วยเหตุนี้ ภายหลังจากทรงสถาปนากองเสือป่า เมื่อวันที่ ๖ พฤษภาคม ๒๔๕๔ แล้ว ได้มีพระราชปรารภว่า เด็กที่อยู่ในวัยเยาว์ ก็สมควรได้รับการฝึกฝน ทั้งร่างกายและจิตใจ ให้รู้ในทางเสือป่าเช่นกัน เพื่อว่าเมื่อเติบใหญ่ขึ้นจะได้รู้จักหน้าที่ ซึ่งคนไทยทุกคนควรประพฤติเป็นประโยชน์แก่ชาติบ้านเมือง อันเป็นที่เกิดเมืองนอนของตน ทรงพระราชดำริว่าการที่จะฝึกฝนให้คิดถูกเช่นนี้ได้ ต้องเริ่มตั้งแต่ยังเยาว์วัย จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สถาปนากิจการลูกเสือ และตราข้อบังคับลักษณะปกครองลูกเสือ เมื่อวันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๔๕๔

    สำหรับกองลูกเสือกองแรก จัดตั้งขึ้นที่โรงเรียนมหาดเล็กหลวง (วชิราวุธวิทยาลัย) เป็นกองลูกเสือในพระองค์ เรียกว่า “กองลูกเสือกรุงเทพฯ ที่ ๑” ต่อมา เจ้าพระยาพระเสด็จสุเรนทราธิบดี (หม่อมราชวงศ์เปีย มาลากุล) เสนาบดีกระทรวงธรรมการ ได้ขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตจัดตั้งกองลูกเสือขึ้นในโรงเรียนต่างๆ จนกิจการลูกเสือได้แพร่หลายไปทั่วประเทศ

    กิจการลูกเสือไทย มีความเจริญก้าวหน้ามาถึงปัจจุบัน ด้วยพระราชวิสัยทัศน์อันกว้างไกลของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ทรงให้ความสำคัญกับเด็กและเยาวชน ผู้เป็นกำลังของชาติต่อไปในภายภาคหน้า ดังปรากฎความตอนหนึ่งในพระบรมราโชวาทเมื่อคราวพระราชทานธงประจำกองลูกเสือมณฑลกรุงเทพพระมหานคร วันที่ ๒๙ ธันวาคม ๒๔๕๘ ว่า

    “…ข้าหวังไว้ว่าเจ้าทั้งหลายจะเป็นผู้ที่บันดาลให้ชาติไทยถึงซึ่งความเจริญ ทำให้ผู้อื่นนับหน้าถือตา เมื่อคนไทยเราไปที่ไหน ถ้าเขาถามว่าเราเป็นชาติอะไร เราบอกเขาว่าเป็นไทยให้เขาเปิดหมวกให้ ที่เราจะได้รับความนับถือเช่นนี้ ก็เพราะพวกเจ้าทั้งหลายรู้จักรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ เจ้าต้องรู้สึกว่า การที่เจ้าเป็นลูกเสือ ย่อมมีความประพฤติแปลกกว่าเด็กกลางถนน เจ้าจะประพฤติอย่างเด็กกลางถนนไม่ได้ เพราะเจ้าเป็นคนที่พระเจ้าแผ่นดินรู้จักเสียแล้ว หวังไว้ว่าเจ้าจะเป็นกำลังของชาติ และเชิดชูให้ชาติถึงซึ่งความเจริญในภายหน้า…”

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *