Skip to content
Home » ภาษีเงินได้ หัก ณ ที่จ่าย คืออะไร ทำไมเราต้องถูกหัก | ภาษีหมายถึง

ภาษีเงินได้ หัก ณ ที่จ่าย คืออะไร ทำไมเราต้องถูกหัก | ภาษีหมายถึง

ภาษีเงินได้ หัก ณ ที่จ่าย คืออะไร ทำไมเราต้องถูกหัก


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

ภาษีเงินได้ หัก ณ ที่จ่าย คืออะไร ทำไมเราจะต้องถูกหัก และทำไมในแต่ละครั้งถึงถูกหักไม่เท่ากัน โดยจะขอเล่าคร่าวๆ ว่า…
.
อ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ https://flowaccount.com/blog/%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%A9%E0%B8%B5%E0%B9%80%E0%B8%87%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B9%84%E0%B8%94%E0%B9%89%E0%B8%AB%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%93%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%88%E0%B9%88%E0%B8%B2/
.
สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้
โทร: 020268989 และ Line: @flowaccount (มี@)
Website FlowAccount คลิก: bit.ly/fbAccountV9_1
💻 ทดลองใช้งาน โปรแกรมบัญชีออนไลน์ FlowAccount ฟรี 30 วันได้ที่ https://flowaccount.com
ดาวน์โหลดแอปพลิเคชั่น New FlowAccount ทั้งทาง iOS และ Andriod
📱 App Store: https://apple.co/2PoDikS
📱 Play Store: http://bit.ly/354gFcf

Credits
Voice Artist พิมวิภา ป๊อกยะดา
Scriptwriter สราญรัตน์ ไว้เกียรติ
Sound Designer \u0026 Engineer อลงกรณ์ สุขวิพัฒน์
หักณที่จ่าย เงินเดือน ภาษี FlowAccount NewFlowAccount

ภาษีเงินได้ หัก ณ ที่จ่าย คืออะไร ทำไมเราต้องถูกหัก

รายได้แบบนี้ต้องเสียภาษีไหม แล้วรายได้แบบไหนต้องเสียภาษี ? | สร้างเสริมประสบการณ์ภาษี EP06


รายได้ แบบนี้ ต้อง เสียภาษี ไหม แล้วรายได้แบบไหนต้องเสียภาษี สิ่งที่อยากตอบคำถามในตอนนี้ คือ วิธีการเข้าใจหลักพิจารณารายได้ครับผม
รายได้ที่ต้องเสียภาษี คือ รายได้ที่กฎหมายไม่ยกเว้นให้ และไม่มีเงื่อนไขอะไรมาทำให้หลุดรอดจากการคำนวณภาษี นอกจากนั้นยังต้องเข้าใจว่าความหมายของรายได้ หรือ เงินได้ทางภาษีนั้นหมายถึงอะไรบ้าง ถ้าหากเราตอบคำถามเหล่านี้ได้ เราจะจัดการและเข้าใจภาษีได้ง่ายขึ้นครับ
หวังว่าดูแล้วจะทำให้ตอบได้ว่า ถูกหวย ขายของมือสอง เงินที่พ่อแม่ให้มา รายได้ต่างประเทศต่าง ๆ แบบไหนกันแน่ที่ต้องจ่ายภาษี และแบบไหนที่กฎหมายยกเว้นให้นะครับผม
สร้างเสริมประสบการณ์ภาษี รายการใหม่ที่จะพาทุกคนไปรู้จักกับเรื่องราวต่าง ๆ ในชีวิตประจำวัน แต่ดันมาเกี่ยวข้องกับภาษีได้อย่างไร ? ฝากติดตามเป็นกำลังใจให้กันด้วยนะครับ
รายการนี้เกิดจากความเชื่อที่ว่าเราสามารถเรียนรู้เรื่องภาษีได้จากทุกเรื่องรอบตัว และภาษีไม่ใช่เรื่องน่ากลัวที่เราจะทำความรู้จักกับมันครับ

รายได้แบบนี้ต้องเสียภาษีไหม แล้วรายได้แบบไหนต้องเสียภาษี ? | สร้างเสริมประสบการณ์ภาษี EP06

กรมสรรพากรยันกฏหมายใหม่ไม่ได้รีดภาษีผู้ค้าออนไลน์ แจงรายละเอียดการเก็บภาษี E-Payment


นายปิ่นสาย สุรัสวดี รักษาการในตำแหน่งที่ปรึกษาด้านยุทธศาสตร์การจัดเก็บภาษี ในฐานะโฆษกกรมสรรพากร เผยว่า ตามที่ สนช.ได้มีมติเห็นชอบ ร่าง พรบ. แก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร เพื่อรองรับภาษีและธุรกิจ อีเพย์เม้นท์ เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม กรมสรรพากรยืนยันว่า ได้มีการพิจารณาเกี่ยวกับสิทธิส่วนบุคคล การรักษาความเป็นส่วนตัว และความปลอดภัยของข้อมูลอย่างถี่ถ้วนแล้ว
โดยเฉพาะรายละเอียดด้านการขอให้ธนาคารส่งข้อมูลการรับเงินเข้าบัญชีเกิน 400 ครั้ง และมีวงเงินรับเกิน 2 ล้านบาทต่อบัญชี หรือมีการโอนขารับเกิน 3,000 ครั้งต่อบัญชี ที่เป็นเพียงการส่งชื่อสกุล เจ้าของบัญชี และจำนวนครั้งเท่านั้น ไม่ได้เป็นการส่งข้อมูล ว่าใครโอนให้ใคร
ทั้งนี้ยืนยันว่าข้อมูลที่ได้ ไม่ได้นำมาใช้ในการรีดภาษีผู้ค้าออนไลน์ เหมือนที่ภาคประชาสังคมเข้าใจ แต่นำมาใช้วิเคราะห์พฤติกรรมผู้เสียภาษี ดูข้อมูลกลุ่มเสี่ยง อีกทั้งข้อมูลที่ส่งมาก็เป็นเพียงหนึ่งในปัจจัยที่ใช้ในการพิจารณาเท่านั้น ยังมีปัจจัยประกอบอีกหลายด้าน นอกจากนี้เจตนาของกฎหมายหากประชาชนหรือผู้ประกอบการใด ที่มีรายได้เกินเกณฑ์ก็จะต้องเสียภาษีอยู่แล้ว
ซึ่งเกณฑ์กำหนดในการจัดเก็บภาษี จะอยู่ที่ 1 ล้านละ 5,000 บาท หากมีวงเงินเกิน 2 ล้านบาท ตามที่กฏหมายกำหนด ก็จะเสียเพียง 10,000 บาท เท่านั้น ซึ่งระดับวงเงิน 2 ล้านบาท ยังถือว่าสูงกว่าฐานรายได้เฉลี่ยของคนเมือง ที่เสียภาษีบุคคลอยู่ที่ 600,000 บาทต่อปี การจัดเก็บภาษีดังกล่าวยังช่วย ป้องกันข้อครหาที่หลายคนชี้ว่าประชาชนเพียง 10 ล้านคนเท่านั้น ที่ต้องจ่ายภาษีรายได้ ทั้งที่มีประชากรส่วนใหญ่ถึงว่า 69 ล้านคน
ส่วนอีกหนึ่งประเด็นก็คือการให้ผู้จ่ายเงินสามารถเลือกวิธีนำส่งภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่ายผ่านตัวกลาง เช่น ธนาคารโดยไม่ต้องยื่นแบบแสดงรายการภาษี และนำส่งภาษีให้กับกรมสรรพากรในภายหลัง ก็เป็นการสร้างความเป็นธรรมในระบบภาษี โดยไม่ได้มุ่งเน้นที่จะจัดเก็บภาษีจากผู้ขายสินค้าออนไลน์ หรือธุรกิจหนึ่งธุรกิจใดเป็นการเฉพาะ แต่เพื่อให้เข้ากับยุคสมัยที่เดี๋ยวนี้มีการลดการใช้เอกสาร และนำข้อมูลสู่ระบบดิจิทัล ตามนโยบายของกรมที่มุ่งสู่การเป็นหน่วยงานอิเล็กทรอนิกเต็มรูปแบบ โดยกระบวนการทั่งหมด ก็ได้เผื่อเวลาให้ผู้ประกอบการปรับตัว เพราะมีผลบังคับใช้ 1 มกราคม 2563

รายละเอียดเพิ่มเติม : https://morningnews.bectero.com/economy/08Dec2018/134643
เรื่องเล่าเสาร์อาทิตย์ (Morning News) 2 ธ.ค.2561
ติดตามความเคลื่อนไหวข่าวสารได้ก่อนใครได้ที่นี่
เรื่องเล่าเช้านี้.com : http://morningnews.bectero.com
facebook : https://www.facebook.com/MorningNewsTV3
Twitter : https://twitter.com/MorningNewsTV3

กรมสรรพากรยันกฏหมายใหม่ไม่ได้รีดภาษีผู้ค้าออนไลน์ แจงรายละเอียดการเก็บภาษี E-Payment

ลดหย่อนภาษี’ คืออะไร เข้าใจด้วย 6 คำถามกับ iTAX | Urban Creature


หนึ่งสิ่งที่ต้องทำในช่วงสิ้นปีของเหล่าคนทำงาน คือ ‘การลดหย่อนภาษี’ ที่บางคนก็เข้าใจ แต่บางคนก็ยังคงงงงวยอยู่ว่าทำอย่างไร และคืออะไร ต้องซื้อกองทุนเท่าไหร่ เราเลยชวนมาเข้าใจเรื่องการลดหย่อนภาษีด้วย 6 คำถามกับ ‘ผศ.ดร.ยุทธนา ศรีสวัสดิ์’ CEO แห่ง ‘iTax’ แพลตฟอร์มที่จะพาทุกคนไปเข้าใจเรื่องภาษีที่ต้องคอยจ่ายกันทุกปี
.
Video Editor : Vetchapong J.
Content Writer : Sirilak S.
Graphic Designer : Jirayu P.
UrbanCreature UrbanLiving iTax ภาษี ลดหย่อนภาษี

ลดหย่อนภาษี' คืออะไร เข้าใจด้วย 6 คำถามกับ iTAX | Urban Creature

#ภาษี10นาที Ep.1 : ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย คืออะไร คิดแบบไหน ต้องทำอะไรบ้าง?


ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย ถ้าว่ากันแบบง่ายๆ คือ จำนวนเงินที่กฎหมายกำหนดให้ผู้จ่ายเงินหักออกจากเงินได้ก่อนจ่ายให้แก่ผู้รับ และถือเป็น \”เครดิตภาษี\” ของผู้ถูกหัก สำหรับการคำนวณภาษีที่ต้องยื่นในแบบแสดงรายการภาษี โดยทางผู้จ่ายเงินจะมีหลักฐานที่เรียกว่า \”หนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่าย\” ให้แก่ผู้รับไว้เป็นหลักฐาน
ยกตัวอย่างเช่น ถ้าหากเรามีภาษีที่ต้องเสียทั้งหมดในปี จำนวน 15,000 บาท แต่เรามีภาษีหัก ณ ที่่จ่ายที่ถูกหักไว้แล้วระหว่างจำนวน 10,000 บาท แปลว่าในปีนั้นเราจะต้องเสียภาษีเพิ่มเติมแค่เพียง 15,000 10,000 = 5,000 บาทเท่านั้นเอง (10,000 บาทที่ถูกหักไว้ นำไปเครดิตออกจากภาษีที่ต้องชำระตอนปลายปี)
หรือสรุปง่ายๆว่า หลักการของภาษีหัก ณ ทีจ่ายเป็นแบบนี้ครับ คือ
1. คนจ่ายหักภาษีไว้ เอาเงินไปส่งสรรพากร
2. คนมีรายได้ ได้ใบเอกสารหลักฐานการหักภาษี
3. ตอนยื่นภาษี คำนวณออกมาได้เท่าไร ให้เอาภาษีที่ถูกหักไว้ไปลบออก ส่วนต่างก็เสียเพิ่มหรือได้คืนแล้วแต่กรณีไป
อย่าลืมนะครับว่า รายได้ที่ถูกหักภาษีไว้นี่ ไม่ยื่นไม่ได้นะครับ เพราะถ้าไม่ยื่นก็แปลว่ามีสิทธิโดนตรวจสอบแน่นอนจ้า เพราะสรรพากรมีข้อมูลแล้วจากข้อ 1 แล้วก็ไม่ใช่การเสียภาษีด้วย มันเป็นการจ่ายล่วงหน้าเฉยๆ
ภาษี10นาที ภาษีเงินได้หักณทีจ่าย ภาษีหัก ภาษีหักณที่จ่าย ถูกหักภาษี จ่ายภาษีล่วงหน้า ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา คำนวณภาษี
ซีรีย์ ภาษี10นาที ซีรีย์ที่สอนเรื่องภาษีโดยพรี่หนอม TAXBugnoms เพื่อให้ความรู้ภาษีเข้าใจง่ายขึ้น ทุกวันอังคารเวลา 2 ทุ่ม เริ่มตั้งแต่ปลายเดือนสิงหาคม 2562 เป็นต้นไป และจะทำจนกว่าขี้เกียจทำ 555
กด Subscribed เป็นกำลังใจให้กันด้วยนะจ๊ะ
ติดตามช่องทางอืนๆของพรี่หนอมได้ที่
FB : http://www.FB.com/TAXBugnoms
Twitter : https://twitter.com/TAXBugnoms
Podcast : http://taxbugnoms.podbean.com/

#ภาษี10นาที Ep.1 : ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย คืออะไร คิดแบบไหน ต้องทำอะไรบ้าง?

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆMAKE A WEBSITE

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *