Skip to content
Home » ปิดบัญชีภาษีซื้อ ภาษีขายในสมุดรายวันทั่วไป : ครูบอน สอนบัญชี | ภาษี ซื้อ หมาย ถึง | การออกแบบเว็บไซต์ด้วยตนเอง

ปิดบัญชีภาษีซื้อ ภาษีขายในสมุดรายวันทั่วไป : ครูบอน สอนบัญชี | ภาษี ซื้อ หมาย ถึง | การออกแบบเว็บไซต์ด้วยตนเอง

ปิดบัญชีภาษีซื้อ ภาษีขายในสมุดรายวันทั่วไป : ครูบอน สอนบัญชี|เรียนรู้การออกแบบเว็บไซต์ออนไลน์ที่บ้าน.

[button color=”primary” size=”small” link=”#” icon=”” target=”false” nofollow=”false”]ชมวิดีโอด้านล่าง[/button]

สามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์เพิ่มเติมได้ที่นี่: Nataviguides.com/learn-to-make-a-website

รูปภาพที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อ ปิดบัญชีภาษีซื้อ ภาษีขายในสมุดรายวันทั่วไป : ครูบอน สอนบัญชี.

ปิดบัญชีภาษีซื้อ ภาษีขายในสมุดรายวันทั่วไป : ครูบอน สอนบัญชี

ปิดบัญชีภาษีซื้อ ภาษีขายในสมุดรายวันทั่วไป : ครูบอน สอนบัญชี


ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับบทความ ภาษี ซื้อ หมาย ถึง

ครูบอนสอนบัญชี (บัญชีง่าย) ——– เยี่ยมชมเว็บไซต์ครูบอน เพจครูบอนสอนการบัญชี ทักไลน์แอด @krubon.acc ——- สอนบัญชี ติวบัญชี …

>>https://nataviguides.com เราหวังว่าข้อมูลนี้จะมีคุณค่าอย่างยิ่งสำหรับคุณ ขอบคุณมากที่รับชม.

เนื้อหาเกี่ยวข้องกับเนื้อหาภาษี ซื้อ หมาย ถึง.

#ปดบญชภาษซอ #ภาษขายในสมดรายวนทวไป #ครบอน #สอนบญช

[vid_tags]

ปิดบัญชีภาษีซื้อ ภาษีขายในสมุดรายวันทั่วไป : ครูบอน สอนบัญชี

ภาษี ซื้อ หมาย ถึง.

8 thoughts on “ปิดบัญชีภาษีซื้อ ภาษีขายในสมุดรายวันทั่วไป : ครูบอน สอนบัญชี | ภาษี ซื้อ หมาย ถึง | การออกแบบเว็บไซต์ด้วยตนเอง”

  1. ภาษีมูลค่าเพิ่ม มีหลักการเดียวกันกับ ภาษี หัก ณ ที่จ่าย ผู้เสียภาษีมูลค่าเพิ่มที่แท้จริง คือ ผู้บริโภค ส่วนผู้ประกอบการขายสินค้าหรือให้บริการเป็นตัวแทนกรมสรรพากร ในการเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม (เป็นตัวแทนเมื่อจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม หรือ จดทะเบียน VAT) โดยจะเรียกเก็บ 7% ของราคาสินค้าหรือบริการจากผู้ซื้อสินค้าหรือซื้อบริการ (ผู้บริโภค*) เมื่อเรียกเก็บมาแล้ว มีหน้าที่นำส่งแก่สรรพากร คล้ายกับภาษี หัก ณ ที่จ่าย ก็จะบันทึก ค้างจ่าย ในบัญชี เจ้าหนี้กรมสรรพากร-ภาษีขาย ถือเป็นหนี้สินหมุนเวียน หรือบางกิจการใช้ชื่อบัญชีว่า ภาษีขาย ไปเลย ส่วนภาษีซื้อ นั้น เนื่องจากผู้ประกอบการขายสินค้าหรือให้บริการที่จดทะเบียน VAT ในสายตาของสรรพากร เขาไม่ใช่ผู้บริโภค ไม่มีหน้าที่เสียภาษีมูลค่าเพิ่ม แต่เมื่อเขาซื้อสินค้าหรือรับบริการ เขาเคยถูกเรียกเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม หรือ ภาษีซื้อ เพราะฉะนั้น การถูกเรียกเก็บภาษีซื้อจึงเป็นการถูกเรียกเก็บโดยพลการ สรรพากรไม่มีอำนาจเก็บจาก ผู้ประกอบการจดทะเบียน VAT เพราะไม่ใช่ผู้บริโภค ดังนั้นสรรพกรจึงมีหน้าที่คืน ให้แก่ผู้ประกอบการจดทะเบียน VAT ผู้ประกอบการฯ จึงตั้งค้างรับไว้ในบัญชี ลูกหนี้กรมสรรพากร-ภาษีซื้อ ถือเป็นสินทรัพย์หมุนเวียน หรือบางกิจการอาจใช้ชื่อว่า ภาษีซื้อ ไปเลย จะเห็นได้ว่า กรมสรรพากร เป็นได้ทั้ง เจ้าหนี้ และ ลูกหนี้ ของผู้ประกอบการจดทะเบียน VAT เมื่อจะชำระหนี้กัน ก็ต้องเอายอด ทั้งเจ้าหนี้ และ ลูกหนี้ มาหักล้างกันก่อน ภาษาทางการเรียกว่า หักกลบลบหนี้ โดยปกติจะให้หักกลบลบหนี้กันเดือนละ 1 ครั้ง เอาภาษีขาย มาหัก ภาษีซื้อ (การยื่น ภพ 30) ถ้าภาษีขายมากกว่า ถือว่าสรรพากรเป็นเจ้าหนี้ในส่วนที่มากกว่า ผู้ประกอบการฯ ก็ต้องชำระภาษีมูลค่าเพิ่ม เพิ่ม ถ้า ภาษีซื้อ มากกว่า ภาษีขาย ถือว่า ผู้ประกอบการฯ เป็นเจ้าหนี้ สรรพากร มีสิทธิได้รับชำระหนี้คืน ส่วนจะได้คืนเต็มเม็ดเต็มหน่วยหรือไม่ ขึ้นอยู่กับ ระเบียบ กฎหมาย เช่น ภาษีซื้อที่ไม่มีใบกำกับภาษี ห้ามมาเอาคืน เป็นต้น (บางคนบอกว่า เอาเปรียบเชิงนโยบาย คิดดูกันเองนะ) ดูเชิงอรรถ * ผู้บริโภค ในสายตาของสรรพากร คือ 1. ผู้บริโภคสินค้าหรือบริการ คือ นำสินค้าหรือบริการไปเสพสุขให้ตนเอง ส่วน 2. ผู้ประกอบการ ที่ไม่ได้จดทะเบียน VAT เมื่อเป็นผู้บริโภคก็ต้องเสีย ภาษีมูลค่าเพิ่ม ไม่มีสิทธิเรียกคืนภาษีมูลค่าเพิ่มจากสรรพากรได้ เหมือนกับ ผู้ประกอบการจดทะเบียน VAT

  2. ขอบคุณค่า แอบ งง ค่ะ แต่จะพยายามทบทวนความรู้เยอะๆๆค่ะ ทำแบบฝึกหัดบ่อยๆอย่างที่ครูบอน บอกค่ะ

  3. ครูบอนค่ะ พี่อยากจะแวะให้กำลังใจครูบอนว่า ครูบอนได้กุศลและบุญใหญ่มากๆค่ะ กับการทำคลิปขึ้นมาถ่ายทอดและสอนเรื่องบัญชี ขอบคุณมากๆนะคะ เพราะคนไทยอีกมากมายที่ไม่ได้รู้เรื่องและมองข้ามเรื่องตัวเลข จนมีปัญหาการเงินมากมาย ตัวอย่างพี่เอง ไม่เคยใส่ใจเลยจนอายุปูนนี้ การที่เราคำนึงและคำนวณตัวเลข จะทำให้เราตระหนักรู้เรื่องการเงิน เริ่มจากการใช้จ่ายส่วนตัวของเราเอง พี่เพิ่งมาตามครูบอน ตั้งเป้าจะเรียนรู้การทำบัญชีขั้นพื้นฐานกับครูบอนให้เก่ง ภายในสามเดือนค่ะ เพื่อจะเอาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน รายรับ รายจ่ายของตัวเองและกิจการค้าขายค่ะ 😘🙏🏼

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *