Skip to content
Home » ‘ประกันสังคม’แก้ไขระเบียบประกันตนมาตรา 33 เป็น 39/TOUKENSOGOOD | ระเบียบประกันสังคม

‘ประกันสังคม’แก้ไขระเบียบประกันตนมาตรา 33 เป็น 39/TOUKENSOGOOD | ระเบียบประกันสังคม

‘ประกันสังคม’แก้ไขระเบียบประกันตนมาตรา 33 เป็น 39/TOUKENSOGOOD


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

สรุป ประกันสังคม แก้ไขระเบียบผู้ประกันตน
มาตรา 33 เป็น 39
ประกันสังคม มาตรา33 มาตรา39

'ประกันสังคม'แก้ไขระเบียบประกันตนมาตรา 33 เป็น 39/TOUKENSOGOOD

สิทธิประโยชน์ผู้ประกันตนมาตรา39 วิธีสมัครเป็นผู้ประกันตนมาตรา39 ฟังอย่าเสียสิทธิเสียตังค์ฟรี


ผู้ประกันตนมาตรา39สิทธิประโยชน์มาตรา39 สิทธิประโยชน์ผู้ประกันตน สิทธิประโยชน์ผู้ประกันตนมาตรา39 สมัครประกันตนมาตรา39 วิธีสมัครมาตรา39 วิธีสมัครเป็นผู้ประกันตน สมัครเป็นผู้ประกันตน ประโยชน์ผู้ประกันตน วิธีสมัครเป็นผู้ประกันตนมาตรา39 สิทธิ์ผู้ประกันตน รักษาพยาบาลฟรี เงินชราภาพ คืนเงินชราภาพ ขอคืนเงินชราภาพ

สิทธิประโยชน์ผู้ประกันตนมาตรา39 วิธีสมัครเป็นผู้ประกันตนมาตรา39 ฟังอย่าเสียสิทธิเสียตังค์ฟรี

นายจ้างหักและส่ง+รายงานเงินสมทบประกันสังคมยังไง


นายจ้างมีหน้าที่ต้องหักเงินสมทบ และร่วใสมทบเงินจำนวนเท่ากันกับที่หักจากลูกจ้างเข้าสู่กองทุนประกันสังคมทุกเดือน

นายจ้างหักและส่ง+รายงานเงินสมทบประกันสังคมยังไง

เจาะลึกทั่วไปEP.179 วันที่ 22 พฤศจิกายน 2564


เจาะลึกทั่วไป ที่นี่ … ไม่เป็นกลาง แต่เป็นธรรม \r
\r
เจาะลึกทั่วไทย Inside Thailand\r
จันทร์ ศุกร์ เวลา 08.0009.30 น.\r
เจาะประเด็นโดย ดนัย เอกมหาสวัสดิ์ / อมรรัตน์ มหิทธิรุกข์\r
คุยข่าวได้ที่ Line : @insidethailand\r
ชมสด ฟังสด… FB Live : เจาะลึกทั่วไทย Inside Thailand\r
FM 102.0 MHz. \r
วิทยุออนไลน์ http://www.102radio.net/102radioOnline.php\r
ช่อง 9 MCOT HD หมายเลข 30

เจาะลึกทั่วไปEP.179 วันที่ 22 พฤศจิกายน  2564

ความรู้พื้นฐานประกันสังคม EP2 ประเภทของผู้ประกันตน ม.33 ม.39 ม.40


มาตรา ๓๓ ให้ลูกจ้างซึ่งมีอายุไม่ต่ำกว่าสิบห้าปีบริบูรณ์และไม่เกินหกสิบปีบริบูรณ์เป็นผู้ประกันตน
ลูกจ้างซึ่งเป็นผู้ประกันตนอยู่แล้วตามวรรคหนึ่ง เมื่อมีอายุครบหกสิบปีบริบูรณ์ และยังเป็นลูกจ้างของนายจ้างซึ่งอยู่ภายใต้บังคับแห่งพระราชบัญญัตินี้ ให้ถือว่าลูกจ้างนั้นเป็นผู้ประกันตนต่อไป
มาตรา ๓๙ ผู้ใดเคยเป็นผู้ประกันตนตามมาตรา ๓๓ โดยจ่ายเงินสมทบมาแล้วไม่น้อยกว่าสิบสองเดือน และต่อมาความเป็นผู้ประกันตนได้สิ้นสุดลงตามมาตรา ๓๘ (๒) ถ้าผู้นั้นประสงค์จะเป็นผู้ประกันตนต่อไป ให้แสดงความจำนงต่อสำนักงานตามระเบียบที่เลขาธิการกำหนดภายในหกเดือนนับแต่วันสิ้นสุดความเป็นผู้ประกันตน
จำนวนเงินที่ใช้เป็นฐานในการคำนวณเงินสมทบที่ผู้ประกันตนตามวรรคหนึ่งต้องนำส่งเข้ากองทุนตามมาตรา ๔๖ วรรคสาม ให้เป็นไปตามอัตราที่กำหนดในกฎกระทรวง ทั้งนี้ ให้คำนึงถึงความเหมาะสมกับสภาพทางเศรษฐกิจในขณะนั้นด้วย
ให้ผู้ประกันตนตามวรรคหนึ่งนำส่งเงินสมทบเข้ากองทุนเดือนละครั้งภายในวันที่สิบห้าของเดือนถัดไป
ผู้ประกันตนตามวรรคหนึ่งซึ่งไม่ส่งเงินสมทบหรือส่งไม่ครบจำนวนภายในเวลาที่กำหนดตามวรรคสาม ต้องจ่ายเงินเพิ่มในอัตราร้อยละสองต่อเดือนของจำนวนเงินสมทบที่ยังมิได้นำส่งหรือของจำนวนเงินสมทบที่ยังขาดอยู่นับแต่วันถัดจากวันที่ต้องนำส่งเงินสมทบ สำหรับเศษของเดือนถ้าถึงสิบห้าวันหรือกว่านั้นให้นับเป็นหนึ่งเดือน ถ้าน้อยกว่านั้นให้ปัดทิ้ง
มาตรา ๔๐ บุคคลใดซึ่งมิใช่ลูกจ้างตามมาตรา ๓๓ หรือไม่อยู่ในบังคับแห่งพระราชบัญญัตินี้อาจสมัครเข้าเป็นผู้ประกันตนตามพระราชบัญญัตินี้ได้ โดยแสดงความจำนงต่อสำนักงาน ทั้งนี้ คุณสมบัติของบุคคลดังกล่าวให้เป็นไปตามที่กำหนดในพระราชกฤษฎีกา
หลักเกณฑ์และอัตราการจ่ายเงินสมทบของผู้ประกันตน ประเภทของประโยชน์ทดแทนที่จะได้รับตามมาตรา ๕๔ ตลอดจนหลักเกณฑ์และเงื่อนไขแห่งสิทธิในการรับประโยชน์ทดแทน ให้ตราเป็นพระราชกฤษฎีกา
ให้รัฐบาลจ่ายเงินสมทบเข้ากองทุนตามอัตราที่กำหนดในกฎกระทรวง แต่ไม่เกินกึ่งหนึ่งของเงินสมทบที่ได้รับจากผู้ประกันตนตามวรรคหนึ่ง
======================================
บท/บรรยาย : ศราวุธ ชัยดี
บันทึกเสียง : PURE Studio
https://purestudio.simdif.com/

ความรู้พื้นฐานประกันสังคม EP2 ประเภทของผู้ประกันตน ม.33 ม.39 ม.40

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆMAKE A WEBSITE

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *