Skip to content
Home » ยื่นแบบออนไลน์ ภาษี ภงด.1,3,53 ของกรมสรรพากร TAX1353 (EP.1 : EXPORT DATA) | กรม สรรพากร 3

ยื่นแบบออนไลน์ ภาษี ภงด.1,3,53 ของกรมสรรพากร TAX1353 (EP.1 : EXPORT DATA) | กรม สรรพากร 3

ยื่นแบบออนไลน์ ภาษี ภงด.1,3,53 ของกรมสรรพากร TAX1353 (EP.1 : EXPORT DATA)


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

EP.1 : EXPORT DATA ขั้นตอนการ Export ข้อมูลภาษี ภงด.1ภงด.3 ภงด.53 เพื่อยื่นภาษีออนไลน์ จากโปรแกรมบันทึกภาษีภงด. ของ JSM BUSINESS ให้อยู่ในรูปแบบที่กรมสรรพากรกำหนด จากนั้นจึงจะนำไฟล์ที่ได้จากการ Export นี้ไปเข้าโปรแกรมแปลงข้อมูลของสรรพากร แล้วจึงจะสามารถนำไป Upload เวปสรรพากรเพื่อยื่นภาษีออนไลน์ต่อไป
คลิปวีดิโอซี่รีย์ในชุด : ยื่นแบบออนไลน์ ภาษี ภงด.1,3,53
EP.1 : EXPORT DATA ยื่นแบบออนไลน์ ภาษีแบบ ภงด.1,3,53 ของกรมสรรพากร TAX1353 จะแสดงขั้นตอนการ EXPORT ข้อมูลภาษี แบบภาษี ภงด.1,ภงด.3,ภงด.53 จากโปรแกรมบันทึกภาษี TAX1353 ของ JSM BUSINESS
https://youtu.be/73DO8PLoK1w
EP.2 : TRANSFER ขั้นตอนการโอนย้ายข้อมูลแบบภงด.1ภงด.3 ภงด.53 โดยจะแสดงขั้นตอนการโอนย้ายข้อมูล และการตั้งค่าตำแหน่งข้อมูลที่ใช้ในการโอนย้าย เพื่อให้ได้เป็นไปตามรูปแบบที่สรรพากรกำหนดให้การนำไป Upload ยื่นแบบภาษีออนไลน์ ที่เวปไซด์ของกรมสรรพากร
https://youtu.be/jeET3v76BS0
EP.3 : UPLOAD ขั้นตอนการยื่นภาษีภงด.1,ภงด.3,ภงด.53 ผ่านระบบอินเตอร์เน็ตของกรมสรรพากร โดยจะแสดงขั้นตอนการ UPLOAD ข้อมูลที่ได้จากการโอนย้ายข้อมูลของโปรแกรมสรรพากร เพื่อทำการยื่นแบบภาษีออนไลน์ ที่เว็บไซด์ของกรมสรรพากร (สามารถดูเพิ่มเติมได้จากลิ้งค์ด้านล่างนี้)
https://youtu.be/1duowakdZnY

ยื่นแบบออนไลน์ ภาษี ภงด.1,3,53 ของกรมสรรพากร TAX1353 (EP.1 : EXPORT DATA)

การฝึกเป็นหน่วยภาคกองร้อยนอกที่ตั้ง ร.3 พัน.3 ประจำปี 2564


การฝึกเป็นหน่วยภาคกองร้อยนอกที่ตั้ง ร.3 พัน.3 ประจำปี 2564

พิมพ์ใบเสร็จรับเงินย้อนหลัง กรมสรรพากร ระบบ New E-FILING โฉมใหม่2564


พิมพ์ใบเสร็จรับเงินย้อนหลัง กรมสรรพากร ระบบ New E-FILING โฉมใหม่2564

ขั้นตอนการบันทึกข้อมูลภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย ภงด.3 /ยื่นแบบออนไลน์ระบบใหม่ ไม่ต้องดาวน์โหลดโปรแกรม


ขั้นตอนการยื่นแบบภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย ภงด.3 ผ่านทางอินเตอร์เน็ต New EFiling ระบบใหม่ของกรมสรรพากร โดยไม่ต้องดาวน์โหลดโปรแกรม
ขั้นตอนนี้จะครอบคลุมตั้งแต่การบันทึก พิมพ์แบบ ยื่นแบบ และชำระภาษี
สามารถพูดคุย แนะนำ ติดตาม และแสดงความคิดเห็น ผ่านช่องทางต่างๆ ดังนี้
Facebook : https://www.facebook.com/kalataxes

ขั้นตอนการบันทึกข้อมูลภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย ภงด.3 /ยื่นแบบออนไลน์ระบบใหม่ ไม่ต้องดาวน์โหลดโปรแกรม

อัพเดท! ระบบยื่นภาษี e-Filing แบบใหม่ของกรมสรรพากร เริ่มใช้ปี 2564 มีอะไรที่เราต้องรู้บ้าง ?


สรุป EFiling ระบบยื่นภาษีแบบใหม่ของสรรพากร มีอะไรที่ต้องรู้บ้าง ? พรี่หนอมสรุปให้ฟังครับ
ตั้งแต่ 6 ตุลาคม 2564 เป็นต้นไป กรมสรรพากรจะเปิดให้บริการใหม่ สำหรับการยื่นแบบผ่านอินเตอร์เน็ต โดยมีการปรับปรุงใน 3 ด้านหลัก ๆ ดังนี้
เรื่องแรก การลงทะเบียนยื่นแบบ
1. ผู้ประกอบการสามารถยื่นแบบแยกสาขา หรือ รวมสาขาได้ สำหรับกรณียื่นแบบแสดงรายการภาษีมูลค่าเพิมและธุรกิจเฉพาะ
2. เพิ่มช่องทางของ Service Provider ให้สามารถช่วยยื่นแบบ หรือจัดเตรียมแบบแสดงรายการภาษีให้ได้
เรื่องที่สอง การยื่นแบบแสดงรายการ
1. ระบบช่วยคำนวณค่าความคลาดเคลื่อน ±20 ภาษีที่ชำระ(ขอคืน) สำหรับแบบ ภ.พ.30
2. สามารถยื่นแบบเกินกำหนดเวลาได้แล้ว
3. ระบบจะช่วยคำนวณเบี้ยปรับ เงินเพิ่ม ค่าปรับอาญาที่ประหยัดเงินผู้เสียภาษีมากที่สุดให้ได้
4. ยื่นภาษีผิดไป (ไม่มีชำระ) ยกเลิกแบบเองได้ ยื่นได้ทุกแบบ ทุก Browser และ Save แบบร่างเก็บไว้ได้ด้วยนะ
เรื่องที่สาม การชำระเงิน
สามารถออกใบเสร็จได้ทันทีที่ชำระ อยากชำระแบบไม่ปัดเศษก็ได้
โดยสิ่งทีต้องทำ คือ ยืนยันผู้ใช้งานใหม่ เพื่อให้สามารถใช้ระบบใหม่ได้อย่างสมบูรณ์ สามารถเริ่มได้ตั้งแต่วันนี 31 ธันวาคม 2564 ครับ
อัพเดทล่าสุด : ตอนนี้กรมสรรพากรได้ปิดการใช้งานระบบยืนยันบัญชีผู้ใช้งานชั่วคราว สำหรับคนที่ยืนยันแล้ว สามารถใช้งานระบบใหม่ได้ทันทีในวันที่ 6 ตุลาคม 2564 ดังนั้นในช่วงนี้ให้ยื่นภาษีโดยใช้ ชื่อผู้ใช้ (Username) และ รหัสผ่าน (Password) เดิมก่อน ส่วนผู้ที่ยังไม่ได้ยืนยันผู้ใช้งานใหม่ ระบบจะเปิดให้ยืนยันอีกครั้งในวันที่ 6 ตุลาคม 2564 เป็นต้นไป
0:00 Intro
0:52 ระบบ efiling
1:22 การลงทะเบียนใหม่
3:02 การยื่นภาษีแบบใหม่
7:28 การชำระภาษีแบบใหม่
8:56 จะใช้ต้องทำยังไง?
10:07 สรุป

อัพเดท! ระบบยื่นภาษี e-Filing แบบใหม่ของกรมสรรพากร เริ่มใช้ปี 2564 มีอะไรที่เราต้องรู้บ้าง ?

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆMAKE A WEBSITE

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *