Table of Contents
ประวัติของรูปพหูพจน์ …S – John McWhorter|เว็บไซต์เรียนภาษาฟรี.
สามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์เพิ่มเติมได้ที่นี่: อ่านเพิ่มเติมเกี่ยวกับข้อมูลล่าสุดที่นี่
รูปภาพที่เกี่ยวข้องกับหมวดหมู่ ประวัติของรูปพหูพจน์ …S – John McWhorter.

ประวัติของรูปพหูพจน์ …S – John McWhorter
แลกเปลี่ยนที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อ พหูพจน์
ดูบทเรียนฉบับเต็ม: เพียงเพิ่ม S แล้วคุณสามารถเปลี่ยนคำภาษาอังกฤษส่วนใหญ่เป็นพหูพจน์ได้ แต่ความจริงก็ไม่เป็นเช่นนั้นเสมอไป (แน่นอนว่ามีข้อยกเว้น) John McWater พาเราย้อนเวลากลับไปในอดีต เมื่อภาษาอังกฤษถูกแยกออกจากภาษาเยอรมันใหม่ – และหนังสือ ชื่อ และไข่ยังคงใช้รูปพหูพจน์ของ beek, namen และ eggru สอนโดย John McWhorter แอนิเมชั่นโดย Lippy .
>>เรา เราหวังว่าข้อมูลนี้จะมีคุณค่าอย่างยิ่งสำหรับคุณ ขอบคุณมากที่รับชม.
เนื้อหาเกี่ยวข้องกับบทความพหูพจน์.
#ประวตของรปพหพจน #John #McWhorter
คำ พหูพจน์,ภาษาศาสตร์,ภาษาอังกฤษ,ไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ,TEDEd Thai,TED-Ed Thai
ประวัติของรูปพหูพจน์ …S – John McWhorter
พหูพจน์.
วาดการ์ตูนได้ตลกดี
ก็น่าลองนะ ถ้ามีคนรู้เรื่อง
ว่าว พึงรู้ว่า ไวกิ้งก็มีดีเหมือนกันนะเนีย.
3:43 ดออร่าาาาาาาาาาน
Foot -> Feet
3:42 Doora ชื่อมันเหมือน "Dora" เลย🤔🤔🤔
ภาษาอังกฤษโบราณ ประตูหลายประตู เรียกว่า Doora -.-
.
.
.
.
.
พวกเธอเห็นสไวเพอร์มั้ย
ถ้าโลกนี้ไม่มีน้ำ
ถ้ายังใช้ภาษาโบราณอยู่ ข้ายอมกระโดดลงไปในกองไฟ 😂
ทิวลูกอีหมวย
อังกิจธรรมดายังยากเลยคับยังจะให้ลองอังกิจโบราณอีกผมตาย
เม้นที่70
Vigingช่วยชีวิตเราาาาาา
ชอบคนบรรยาย 5555
ถ้ามันยากขนาดนั้น คงไม่ได้เป็นภาษา สากล5555
เรียนบาลีกันไม 5555
คนพากย์น่าจะหล่อ 555
ขอบคุณชาวไวกิ้งครับ
แค่ยุคร้อยกว่าปีก่อนยังยากเลย นี่หลักพัน 5555
EGGRU ตลก555
คนที่อยากเห็นหน้าคนพากษ์
น่าจะเป็นคนนี้นะ
https://www.instagram.com/porpor76/?hl=th
ก็นะ…เชื่อไหมว่าภาษาไวกิ้งก็พัฒนาจาหภาษาเยอรมันอีกทีละนะ
เหมือนพี่รีบให้มันทันคลิปอ่ะ 5 5+ แต่สนุกดีครับ
กลัวintroตลอด
โง่อังกฤษมาก
ภาษาโบราณซับซ้อนกว่าภาษาปัจจุบัน
เมน พอมีอีกคนเป็นเมน์
ชอบเสียงคนพากย์คนนี้มากเลยค่ะ อยากเห็นหน้าจัง
เพศของภาษา มีในภาษาบาลีด้วย
ถ้าโต๊ะไม่มีเพศ แล้วเก้าอี้คือเพศไร
กว่าจะเข้าใจตรงกันในแต่ละคำว่าสื่อความหมายว่าอย่างไร มันก็ต้องมีผิดเพี้ยนมั่งหล่ะ สังเกตุว่าคำใหม่ๆ เกิดขึ้นเยอะมาก คำโบราณๆก็จะค่อยๆตายไปทีละคำ
ขอบคุณครับสำหรับการบรรยายไทย
ภาษาบาลีก็มีการแยกเพศของคำศัพท์
อิ้งโบราณน่าจะมีเพื่อให้ออกเสียงแตกต่างไปจากเอกพจน์หลัก ทำให้ผู้ฟังรู้ดลยว่าเป็นพหูพจน์ แต่ปัจจุบันคำที่ลงด้วย s/es มันฟังยากนะสำหรับคนต่างชาติ อิ้งโบราณก้อดีต่อการใช้แต่ยากต่อการจำ