Skip to content
Home » คำนานพหูพจน์ ที่เปลี่ยนรูปไปจากเดิม (irregular plural noun) | Eng ลั่น [by We Mahidol] | คํานามเอกพจน์

คำนานพหูพจน์ ที่เปลี่ยนรูปไปจากเดิม (irregular plural noun) | Eng ลั่น [by We Mahidol] | คํานามเอกพจน์

คำนานพหูพจน์ ที่เปลี่ยนรูปไปจากเดิม (irregular plural noun) | Eng ลั่น [by We Mahidol]


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

ถ้าเราเห็นหนูหนึ่งตัว เราก็บอกว่า “I saw a mouse.” แต่ถ้ามีหนู 3 ตัวล่ะ? เราจะต้องใช้คำว่าอะไร? ระหว่าง
a. I saw 3 mouses.
b. I saw 3 mice.
คำนามเอกพจน์ คำนามพหูพจน์ โอ๊ย แค่ได้ยินแค่ชื่อก็มึนหัวจะตายอยู่แล้ว! เช่น apple ถ้ามีมากกว่าหนึ่งลูกก็เปลี่ยนเป็น apples แต่รู้หรือเปล่า? โลกเราไม่ได้ง่ายแบบนั้นเสมอไป เพราะมีสิ่งที่เรียกว่า irregular plural noun อยู่ มันคืออะไร? มีอะไรบ้าง? วันนี้พี่คะน้า รุ่นพี่วิทยาลัยนานาชาติ ม.มหิดล จะมายกตัวอย่างคำนามที่เปลี่ยนรูป เปลี่ยนจนบางทีเราจำไม่ได้ ไปดูกันเลยดีกว่า
WeMahidol Mahidol Engลั่น irregularpluralnoun
YouTube : We Mahidol
Facebook : http://www.facebook.com/wemahidol
Instagram : https://www.instagram.com/wemahidol/
Twitter : https://twitter.com/wemahidol
TikTok : https://www.tiktok.com/@wemahidol
มหาวิทยาลัย มหิดล Mahidol University : https://www.mahidol.ac.th/th/
Website : https://channel.mahidol.ac.th/

คำนานพหูพจน์ ที่เปลี่ยนรูปไปจากเดิม (irregular plural noun) | Eng ลั่น [by We Mahidol]

กฎ 10 ข้อ เปลี่ยน คำนามเอกพจน์ เป็นพหูพจน์


จัดทำขึ้นเพื่อเป็นส่วนหนึ่งในการเรียนรู้
ติดตาม Facebook และ Instagram : The Happy Time with Q
หากผิดพลาดประการใด ผู้จัดทำขออภัยมานะที่นี้ด้วยค่ะ 😀

กฎ 10 ข้อ เปลี่ยน คำนามเอกพจน์ เป็นพหูพจน์

เอกพจน์ วงศ์นาค @9ent 16 09 54


เอกพจน์ วงศ์นาค @9ent 16 09 54

Nouns / การใช้ nouns


Nouns (คำนาม)
คือ คำที่ใช้เรียก คน สัตว์ สิ่งของ สถานที่ เหตุการณ์ คุณสมบัติ สภาพ อาการ การกระทำ ความคิด ความรู้สึก ทั้งที่มีรูปร่างมองเห็นได้ และไม่มีรูปร่างที่มองเห็นได้ เช่น
Boy เด็กชาย
School โรงเรียน
Meeting การประชุม
Fear กลัว
Year ปี
คำนามนับได้ และคำนามนับไม่ได้ (Countable nouns, and Uncountable nouns)
คำนามนับได้ คือ, คำนามที่สามารถนับ หรือระบุจำนวนได้ว่า มีกี่ชิ้น กี่อัน กี่แห่ง สามารถอยู่ในรูปของคำนามเอกพจน์ และพหูพจน์ ยกตัวอย่าง เช่น
dog
pen
man
shop
house
คำนามนับไม่ได้ คือ, คำนามที่ไม่สามารถนับ หรือระบุจำนวนได้อย่างชัดเจน ได้แก่ พวกของเหลว มวลสาร แนวคิด ปริมาณ เป็นต้น ซึ่งคำนามนับไม่ได้ จะอยู่ในรูปของเอกพจน์เสมอ ยกตัวอย่าง เช่น
water
air
rice
beef
milk
paper
ข้อควรจำ
หากต้องการนับคำนามนับไม่ได้ ต้องนำไปใส่ในรูปของภาชนะ และถ้าภาชนะมีมากกว่าหนึ่ง ให้เติม s หรือ es ที่หลังภาชนะ อย่าเติมที่คำนามนะคะ ยกตัวอย่าง เช่น
water – a bottle of water
soda – two glasses of soda
milk – three liters of milk
coffee – five cups of coffee
paper – six pages of paper
1.2 คำนามทั่วไป และคำนามเฉพาะ (Common nouns and Proper nouns)
คำนามทั่วไป คือ คำนามที่ใช้เรียก คน สถานที่ สัตว์ สิ่งของ โดยไม่เฉพาะเจาะจงว่าเป็น ใคร ที่ไหน ชื่ออะไร
คำนามเฉพาะ คือ คำนามที่เป็นชื่อเฉพาะของ คน สถานที่ สัตว์ สิ่งของ ยกตัวอย่างเช่น
man – Frank
mountain Everest
motor car – Honda
month – January
Day – Monday
ข้อควรจำ
คำนามเฉพาะต้องขึ้นต้นด้วยพิมพ์ใหญ่เสมอ ไม่ว่าจะอยู่ส่วนไหนของประโยคก็ตาม และหากมีหลายพยางค์ คำนำหน้าของทุกพยางค์ก็ต้องขึ้นต้นด้วยพิมพ์ใหญ่ด้วยเช่นกัน ยกเว้น พยางค์ที่เป็น a, an, the, and, of ให้ใส่เป็นพิมพ์เล็กปกติคะ ยกตัวอย่าง เช่น
I live in Lampang.
He works for Honda Company.
I study at Triam Udom Suksa School.
1.3 Singular Nouns and Plural Nouns
คำนามเอกพจน์และคำนามพหูพจน์
คำนามเอกพจน์ คือ คำนามนับได้ที่มีอยู่เพียงอันเดียว ตัวเดียว หรือคนเดียว เช่น เด็กผู้ชายหนึ่งคน ดินสอหนึ่งแท่ง หนังสือหนึ่งเล่ม สุนัขหนึ่งตัว เป็นต้น หรือเข้าใจง่ายๆก็คือ อะไรก็ตาม ที่มีอยู่เพียงหนึ่งหน่วย เราเรียกว่า คำนามเอกพจน์
คำนามพหูพจน์ คือ คำนามที่แสดงถึงสิ่งของที่มีจำนวนหลายชิ้น หลายตัว หลายอัน หลายคน เช่น เด็กผู้ชายหลาย คน ดินสอหลายแท่ง หนังสือหลายเล่ม สุนัขหลายตัว เป็นต้น หรือเข้าใจง่ายๆก็คือ อะไรก็ตาม ที่มีมากกว่าหนึ่งหน่วยขึ้นไป เราเรียกว่า คำนามพหูพจน์
การทำคำนามที่เป็นเอกพจน์ ให้เป็นพหูพจน์ ด้วยการเติม s
การเปลี่ยนคำนาม จากเอกพจน์ไปเป็นพหูพจน์ แบบพื้นฐานที่สุด ก็คือการใส่ S ไว้ที่ท้ายของคำนาม และก็อย่าลืมออกเสียงตัว s กันด้วยนะคะ ซึ่งการออกเสียงตัว S ทำได้ง่ายๆ โดยการออกเสียง ซอ โซ่ สระอึ ซึ แล้วลากเสียงยาวสักเล็กน้อย ก็จะได้สำเนียงที่ถูกต้อง ลองมาดูตัวอย่างกันนะคะ
Pencil…Pencils…ดินสอ
Boy…Boys…เด็กชาย
Book…Books…หนังสือ
Dog…Dogs…สุนัข
การทำคำนามที่เป็นเอกพจน์ ให้เป็นพหูพจน์ ด้วยการเติม es
คำนามเอกพจน์ที่ลงท้ายด้วย s, ss, x, sh, ch, zz และ z ให้เติม es ต่อท้ายคำ ลองมาดูตัวอย่างกันนะคะ
bus – buses (รถประจำทาง)
kiss – kisses (จูบ)
fox – foxes (สุนขจิ้งจอก)
watch – watches (นาฬิกา)
brush – brushes (แปรง)
witch – witches (แม่มด)
คำนามเอกพจน์ที่ลงท้ายด้วย y มีหลักในการเติม es, อยู่ 2 แบบ คือ
ถ้าหน้า y เป็นสระ คือ a, e, i, o, u ให้เติม s ได้เลย เช่น
radio – radios (วิทยุ)
bamboo – bamboos (ไม้ไผ่)
way – ways (ทาง)
day – days (วัน)
toy – toys (ของเล่น)
ถ้าหน้า y เป็นพยัญชนะ ให้เปลี่ยน y เป็น i แล้วเติม es ต่อท้ายได้เลย เช่น
baby – babies (เด็กทารก)
copy – copies (สำเนา)
lady – ladies (สุภาพสตรี)
study – studies (วิจัย)
story – stories (เรื่องราว)
คำนามเอกพจน์ที่ลงท้ายด้วย o และหน้า o เป็นพยัญชนะ ให้เติม es ได้เลย เช่น
buffalo – buffaloes (ควาย)
mango – mangoes (มะม่วง)
echo – echoes (เสียงสะท้อน)
potato – potatoes (มันฝรั่ง)
hero – heroes (วีรบุรุษ)
ข้อควรจำ
มีคำนามบางคำ ที่ข้างหน้า o เป็นพยัญชนะ แต่สามารถเติม s ได้เลย และมีคำนามบางคำ ที่ลงท้ายด้วย o แต่สามารถเติม e หรือ es ก็ได้ ซึ่งตรงนี้ ต้องอาศัยการสังเกตและจดจำคำศัพท์ เอาไว้ให้มากมากนะคะ ยกตัวอย่าง เช่น
piano – pianos (เปียโน)
memo – memos (บันทึกข้อความ)
auto – autos (รถ)
buffalo – buffalos, buffaloes (ควาย)
zero – zeros, zeroes (เลขศูนย์)
คำนามเอกพจน์ที่ลงท้ายด้วย o และหน้า o เป็นสระ ให้เติม s ได้เลย เช่น
zoo – zoos (สวนสัตว์)
radio – radios (วิทยุ)
studio – studios (ห้องทำงาน)
bamboo – bamboos (ไม้ไผ่)
kangaroo kangaroos (จิงโจ้)
คำนามเอกพจน์ที่ลงท้ายด้วย f หรือ fe ให้เปลี่ยน f หรือ fe เป็น v แล้วเติม es ได้เลย เช่น
knife – knives (มีด)
leaf – leaves (ใบไม้)
half – halves (ครึ่งหนึ่ง)
life – lives (ชีวิต)
shelf – shelves (ชั้นวางของ)
คำนามเอกพจน์ ที่เปลี่ยนรูปไปเลย เมื่อเป็นพหูพจน์ เช่น
Child – children (เด็ก)
man – men (ผู้ชาย)
tooth – teeth (ฟัน)
woman – women (ผู้หญิง)
person – people (คน/ประชาชน)
คำนามที่มีรูปเหมือนกัน ทั้งคำนามเอกพจน์และคำนามพหูพจน์ เช่น
dear – dear (กวาง)
fish – fish (ปลา)
sheep – sheep (แกะ)
salmon – salmon (ปลาแซลมอน)
คำนามบางคำจะมีรูปที่เป็นพหูพจน์อยู่เสมอ เช่น
Noodles (ก๋วยเตี๋ยว)
Pants (กางเกงขายาว)
Sunglasses (แว่นกันแดด)
Scissors (กรรไก)
Glasses (แว่นตา)
Trousers (กางเกงขายาว)
Pliers (คีม)

การใช้nouns

Nouns / การใช้ nouns

P 2 3 4 คำนามเอกพจน์ พหูพจน์


P 2 3 4 คำนามเอกพจน์ พหูพจน์

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆLEARN FOREIGN LANGUAGE

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *