Skip to content
Home » การเปลี่ยนนายจ้างแรงงานต่างด้าว ในช่วงสถานการณ์ COVID-19 | แบบแจ้งคนต่างด้าว สรรพากร

การเปลี่ยนนายจ้างแรงงานต่างด้าว ในช่วงสถานการณ์ COVID-19 | แบบแจ้งคนต่างด้าว สรรพากร

การเปลี่ยนนายจ้างแรงงานต่างด้าว ในช่วงสถานการณ์ COVID-19


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

การเปลี่ยนนายจ้างแรงงานต่างด้าว ในช่วงสถานการณ์ COVID19
เนื่องจากมีประกาศเรื่องการห้ามแรงงานต่างด้าวข้ามจังหวัด
ทำให้แรงงานต่างด้าวที่ต้องการจะเปลี่ยนนายจ้างเปลี่ยนได้เฉพาะที่นายจ้างอยู่ภายในจังหวัดเดียวกันเท่านั้นและต้องถูกต้องตามเงื่อนไขการเปลี่ยนนายจ้างแรงงานต่างด้าว 6 ข้อดังนี้
1.นายจ้างเลิกจ้าง นายจ้างเสียชีวิต
2.นายจ้างล้มละลาย
3.นายจ้างกระทำทารุณกรรมหรือทำร้ายร่างกายลูกจ้าง
4.นายจ้างไม่ปฏิบัติตามสัญญาจ้างหรือกฎหมายคุ้มครองแรงงาน
5.ลูกจ้างทำงานในสภาพแวดล้อมที่อันตรายต่อชีวิต จิตใจ หรือสุขภาพอนามัย
6.นายจ้างใหม่ยินยอมชดใช้ค่าเสียหายให้นายจ้างเดิม
สรุป
ยังไม่สามารถเปลี่ยนนายจ้างข้ามจังหวัดได้
เปลี่ยนได้เฉพาะที่นายจ้างอยู่ภายในจังหวัดเดียวกันเท่านั้น
อ่านเพิ่มเติม
https://www.passport.co.th/mustknow/changeemployercovid19/
บริการแจ้งเข้า
https://www.passport.co.th/service/workerin/
บริการแจ้งออก
https://www.passport.co.th/service/workerout/
ติดต่อสอบถามเพิ่มเติมได้ที่
บริษัท นำคนต่างด้าวมาทำงานในประเทศ โกลเบิ้ล อีเว้นท์ จำกัด
ใบอนุญาตเลขที่ นจ.0036/2560
โทร 028215965
นนทบุรี (สี่แยกแคราย) กด1
https://lin.ee/6JMHpxg
รัชดาซอย22 (MRT รัชดา) กด2
https://lin.ee/s7oT5Hj
สมุทรปราการ บางพลี (รพ.บางนา2) กด3
https://lin.ee/5ieFkR4

See also  [Update] Gat pat | gat pat 61 คะแนน - NATAVIGUIDES

การเปลี่ยนนายจ้างแรงงานต่างด้าว ในช่วงสถานการณ์ COVID-19

สอนยืนยันบัญชีผู้ใช้งาน ระบบยื่นภาษี e-Filing แบบใหม่ของกรมสรรพากร ถ้าจะยืนยันต้องทำยังไงบ้าง ?


วิธียืนยันระบบยื่นภาษีใหม่ของกรมสรรพากร eFilling ต้องทำยังไง มีอะไรที่ต้องรู้บ้าง พรี่หนอมลองรีวิวและพาไปทำให้ดูกันในคลิปนี้ครับ
เนื่องจากกรมสรรพากรมีการเปลี่ยนแปลงระบบยื่นภาษีใหม่ทั้งระบบ ทำให้ต้องมีการอัพเดทข้อมูลต่าง ๆ โดยส่วนหนึ้งคือการเปลี่ยน Username และ password ของการยื่นภาษี เพือให้เราสามารถใช้ระบบใหม่ได้อย่างสมบูรณ์
ณ ตอนนี้ยังสามารถใช้ USERNAME และ PASSWORD ของระบบเก่าได้นะครับ แต่จะสามารถใช้ได้ถึงสิ้นปี 2564 ดังนั้นใครสะดวกยืนยันก่อนได้ครับ โดยเริ่มยืนยันได้ตั้งแต่วันที่ 6 ตุลาคม 2564 เป็นต้นไปครับ
คลิปนี้อัดไวก่อนกรมสรรพากรจะปิดปรับปรุงระบบครับ หากมีอะไรเพิ่มเติมจะมาอัพเดทอีกทีในช่วงเดือนตุลาคมครับ
อัพเดทดูคลิปอัพเดทการยืนยันตัวตนใหม่ ได้ที่นี่ครับ https://youtu.be/_IPPLUQ0liw

สอนยืนยันบัญชีผู้ใช้งาน ระบบยื่นภาษี e-Filing แบบใหม่ของกรมสรรพากร ถ้าจะยืนยันต้องทำยังไงบ้าง ?

อัพเดท! ระบบยื่นภาษี e-Filing แบบใหม่ของกรมสรรพากร เริ่มใช้ปี 2564 มีอะไรที่เราต้องรู้บ้าง ?


สรุป EFiling ระบบยื่นภาษีแบบใหม่ของสรรพากร มีอะไรที่ต้องรู้บ้าง ? พรี่หนอมสรุปให้ฟังครับ
ตั้งแต่ 6 ตุลาคม 2564 เป็นต้นไป กรมสรรพากรจะเปิดให้บริการใหม่ สำหรับการยื่นแบบผ่านอินเตอร์เน็ต โดยมีการปรับปรุงใน 3 ด้านหลัก ๆ ดังนี้
เรื่องแรก การลงทะเบียนยื่นแบบ
1. ผู้ประกอบการสามารถยื่นแบบแยกสาขา หรือ รวมสาขาได้ สำหรับกรณียื่นแบบแสดงรายการภาษีมูลค่าเพิมและธุรกิจเฉพาะ
2. เพิ่มช่องทางของ Service Provider ให้สามารถช่วยยื่นแบบ หรือจัดเตรียมแบบแสดงรายการภาษีให้ได้
เรื่องที่สอง การยื่นแบบแสดงรายการ
1. ระบบช่วยคำนวณค่าความคลาดเคลื่อน ±20 ภาษีที่ชำระ(ขอคืน) สำหรับแบบ ภ.พ.30
2. สามารถยื่นแบบเกินกำหนดเวลาได้แล้ว
3. ระบบจะช่วยคำนวณเบี้ยปรับ เงินเพิ่ม ค่าปรับอาญาที่ประหยัดเงินผู้เสียภาษีมากที่สุดให้ได้
4. ยื่นภาษีผิดไป (ไม่มีชำระ) ยกเลิกแบบเองได้ ยื่นได้ทุกแบบ ทุก Browser และ Save แบบร่างเก็บไว้ได้ด้วยนะ
เรื่องที่สาม การชำระเงิน
สามารถออกใบเสร็จได้ทันทีที่ชำระ อยากชำระแบบไม่ปัดเศษก็ได้
โดยสิ่งทีต้องทำ คือ ยืนยันผู้ใช้งานใหม่ เพื่อให้สามารถใช้ระบบใหม่ได้อย่างสมบูรณ์ สามารถเริ่มได้ตั้งแต่วันนี 31 ธันวาคม 2564 ครับ
อัพเดทล่าสุด : ตอนนี้กรมสรรพากรได้ปิดการใช้งานระบบยืนยันบัญชีผู้ใช้งานชั่วคราว สำหรับคนที่ยืนยันแล้ว สามารถใช้งานระบบใหม่ได้ทันทีในวันที่ 6 ตุลาคม 2564 ดังนั้นในช่วงนี้ให้ยื่นภาษีโดยใช้ ชื่อผู้ใช้ (Username) และ รหัสผ่าน (Password) เดิมก่อน ส่วนผู้ที่ยังไม่ได้ยืนยันผู้ใช้งานใหม่ ระบบจะเปิดให้ยืนยันอีกครั้งในวันที่ 6 ตุลาคม 2564 เป็นต้นไป
0:00 Intro
0:52 ระบบ efiling
1:22 การลงทะเบียนใหม่
3:02 การยื่นภาษีแบบใหม่
7:28 การชำระภาษีแบบใหม่
8:56 จะใช้ต้องทำยังไง?
10:07 สรุป

See also  [Update] บทที่ 1 ระบบสารสนเทศทางการบัญชีและการบัญชี | วงจร บัญชี หมาย ถึง - NATAVIGUIDES

อัพเดท! ระบบยื่นภาษี e-Filing แบบใหม่ของกรมสรรพากร เริ่มใช้ปี 2564 มีอะไรที่เราต้องรู้บ้าง ?

มติ ครม เห็นชอบ ผ่อนผันแรงงานต่างด้าว อยู่ในราชอาณาจักร และทำงานอย่างถูกต้องตามกฎหมายเป็นกรณีพิเศษ


วันนี้ (29 ธันวาคม 2563)
มติ ครม แรงงานต่างด้าว 3 สัญชาติ ที่ผิดกฎหมาย ลงทะเบียน อยู่ไทยถึง 16 กุมภาพันธ์ 2566
มติ ครม เห็นชอบ ให้กระทรวงมหาดไทย กระทรวงแรงงาน ออกกฎกระทรวง ร่างประกาศกระทรวง เพื่อผ่อนผันให้แรงงานต่างด้าว 3 สัญชาติ กัมพูชา ลาว เมียนมา อยู่ในราชอาณาจักรและทำงานได้อย่างถูกต้องตามกฎหมายเป็นกรณีพิเศษ แรงงานต่างด้าวที่เข้าราชอาณาจักรมาแต่ยังไม่มีงานทำ ยังไม่มีนายจ้าง จะต้องหานายจ้างให้ได้ภายใน 90 วัน และต้องลงทะเบียนผ่านระบบออนไลน์ ภายในวันที่ 25 มกราคม – 13 กุมภาพันธ์ 2564 และจะต้องตรวจหาเชื้อโควิด19 รวมทั้งโรคต้องห้ามอีก 6 โรค อีกทั้งจะต้องทำประกันสุขภาพ เป็นระยะเวลา 2 ปี มีค่าใช้จ่ายทั้งสิ้นประมาณ 7,200 บาทโดยประกาศนี้จะช่วยให้แรงงานต่างด้าวสามารถทำงานในราชอาณาจักรได้ 2 ปี โดยจะสิ้นสุดในวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2566
https://www.passport.co.th/cabinetresolution/cabinetforeignworkers/

See also  [NEW] รวมประโยค เขียนอีเมลภาษาอังกฤษ ให้เหมือนมืออาชีพ (พื้นฐาน-ระดับสูง) | เสนอราคา ภาษาอังกฤษ - NATAVIGUIDES

มติ ครม เห็นชอบ ผ่อนผันแรงงานต่างด้าว อยู่ในราชอาณาจักร และทำงานอย่างถูกต้องตามกฎหมายเป็นกรณีพิเศษ

วิธีแปลงไฟล์เก่าผ่านโปรแกรม RD Prep เพื่อยื่นภาษี | NEW e-Filing ยื่นภาษีออนไลน์แบบใหม่ EP.04


ตั้งแต่วันที่ 6 ตุลาคม 2564 เป็นต้นไป กรมสรรพากร ได้เริ่มใช้งานระบบ ยื่นภาษี ใหม่ new efiling ซึ่งหลายคนอาจจะติดปัญหาการยื่นภาษีผ่านระบบใหม่ ว่ามีอะไรหลายอย่างที่ต้องรู้
พรี่หนอมทำตัวอย่างวิธีเแปลงไฟล์ผ่านระบบ RDPrep ของกรมสรรพากร โดยแปลงไฟล์จากโปรแกรมใบแนบเดิม TxT เป็น Rdx เพื่อใช้ประกอบการยื่นภาษีผ่านอินเตอร์เน็ตในระบบใหม่
โดยโปรแกรม RD Prep คือ โปรแกรมสำหรับใช้บันทึก/โอนย้ายใบแนบแบบภาษีเงินได้ หัก ณ ที่จ่าย หรือแบบภาษีมูลค่าเพิ่ม/ภาษีธุรกิจเฉพาะ ที่ใช้แทนโปรแกรมใบแนบแบบเก่าของกรมสรรพากรครับ

วิธีแปลงไฟล์เก่าผ่านโปรแกรม RD Prep เพื่อยื่นภาษี | NEW e-Filing ยื่นภาษีออนไลน์แบบใหม่ EP.04

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่MAKE A WEBSITE

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *